Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36034
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิสุทธิ์ เพียรมนกุล | |
dc.contributor.advisor | ปฏิภาณ ปัญญาพลกุล | |
dc.contributor.author | ปนัดดา โลหะสาร | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2013-10-09T02:27:46Z | |
dc.date.available | 2013-10-09T02:27:46Z | |
dc.date.issued | 2551 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36034 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบจากการเคลือบถ่ายกัมมันต์จากภาคตะกอนเยื่อกระดาษ(SAC)ด้วยไคโตซาน การเติมอากาศพีเอชและอุณหภูมิที่มีต่อประสิทธิภาพการดูดซับสีประเภท Readcive Black 5 (RB5) และสี Basic Yelow 1 (BY1) โดยเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดูดซับสีย้อมดังกล่าวบนถ่านกัมมันต์ชนิดผงเกรดการค้า (PAC) โดยทำการศึกษาลักษณะทางกายภาพ จลนศาสตร์ และไอโซเทอมการดูดซับในสภาวะต่าง ๆ จากผลการทดลองพบว่า PAC มีความสามารถในการดูดซับสี RB 5 และ BY 1 สูงที่สุดที่พีเอช 9 เท่ากับ 298.76 และ 538.63 มิลลิกรัมต่อกรัม ตามลำดับ สำหรับการดูดซับสี RB 5 พบว่า ถ่านกัมมันต์จากกากตะกอนเยื่อกะดาษชนิดเคลือบไคโตซาน (CH-SAC) มีความสามารถในการดูดซับสี RB 5 สูงที่สุดที่พีเอช 5 เท่ากับ 151.60 มิลลิกรัมต่อกรัม ซึ่งมากกว่า SAC ที่มีค่าสูงสุดที่พีเอช ึ เท่ากับ 130.02 มิลลิกรัมต่อกรัม ส่วนการการดูดซับสี BY 1 พบว่าถ่าน CH-SAC มีความสามารถในการดูดซับสี BY 1 สูงที่สุดที่พีเอช 9 เท่ากับ 187.98 มิลลิกรัมต่อกรัม ซึ่งมากกว่า SAC ที่มีค่าสูงสุดที่พีเอช เท่ากับ 157.70 มิลลิกรัมต่อกรัม การเติมอากาศที่อัตราการไหลของก๊าซ 0.6 ลิตรต่อนาที ส่งผลต่อความสามารถในการดูดซับสี RB 5 ใกล้เคียงกับการกวนผสมด้วยความเร็วรอบ 200 รอบต่อนาที และการเติมอากาศจะส่งผลดีต่อการดูดซับสี BY 1 บนถ่านกัมมันต์ทุกชนิด โดยการดูดซับสี RB 5 เป็นปฏิกิริยาคายความร้อนซึ่งเกิดได้ดีที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ในขณะที่การดูดซับสี BY 1 เป็นปฏิกิริยาคายความร้อนซึ่งเกิดได้ดีที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ในขณะที่การดูดซับสี BY 1 เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อนซึ่งเกิดได้ดีที่อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study is to investigated the effect of chitosan coating on activated carbon made from paper pulp sludge (SAC) on adsorption efficiency of Reactive Black 5 RB 5) and Basic Yellow 1 (BY 1), comparing with powder activated carbon (PAC). The effects of aeration pH and temperature were studied. The data concerning to physico-chemical characterization, adsorption kinetic and isotherm in various conditions were applied to evaluate the adsorption mechanism. From obtained data, PAC had the highest adsorption efficiency for RB 5 and BY 1 at pH 9 equal to 298.76 and 538.63 mg/g, respectively. Highest adsorption efficiency for RB 5 obtained with chitosan coated SAC (CH-SAC) at pH 5 (151.60 mg/g) was higher than that obtained with the SAC at pH 7 130.02 mg/g). For the adsorption of BY 1, CH-SAC can provide the highest adsorption at pH 9 (187.98 mg/g) and higher than obtained with SAC at pH 9 (157.70 mg/g). Due to the aeration process, The air flow rate of 0.6 L/m shows the result similar to the stirring mixer with the speed at 200 rpm. The remarkable effect of aeration can be observed on the BY 1 adsorption on all adsorbents. Adsorption of RB 5 had the highest efficiency at 25 C under exothermic reaction, whereas n the case of adsorption of BY 1, the highest efficiency can be found at 55 C under endothermic reaction. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1063 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | คาร์บอนกัมมันต์ | en_US |
dc.subject | การดูดซับ | en_US |
dc.subject | ไคโตแซน | en_US |
dc.subject | Carbon, Activated | en_US |
dc.subject | Adsorption | en_US |
dc.subject | Chitosan | en_US |
dc.title | การเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับสีย้อมบนถ่านกัมมันต์จากกากตะกอนเยื่อกระดาษด้วยการเคลือบไคโตซานและเติมอากาศ | en_US |
dc.title.alternative | Enhancement of dyes adsorption efficiency on activated carbon from paper pulp sludge by chitosan coat and aeration | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Pisut.P@Chula.ac.th | |
dc.email.advisor | Patiparn.P@Chula.ac.th | |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.1063 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
panadda_lo.pdf | 3.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.