Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36050
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉลอง สุนทราวาณิชย์-
dc.contributor.authorศิริวรรณ ลาภสมบูรนานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-10-09T02:45:07Z-
dc.date.available2013-10-09T02:45:07Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36050-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษารูปแบบของเรื่องเล่าเกี่ยวกับ "เสือ" ที่จะถูกนำเสนอและนำมาผลิตซ้ำในสื่อประเภทต่างๆ ตั้งแต่ พ.ศ. 2460-2510 และทราบถึงบทบาทหน้าที่และอิทธิพลของสื่อมวลชนที่ผลิตซ้ำ และสร้างความนิยมเรื่องเล่าเกี่ยวกับเสือขึ้นมา จนเกิดเป็นภาพลักษณ์ของเสือที่สะท้อนให้เห็นค่านิยมและอุดมการณ์ในสังคมไทยที่แฝงอยู่ในเรื่องเล่าเกี่ยวกับเสือในบริบททางประวัติศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า การผลิตซ้ำและการสร้างความนิยมในเรื่องเล่าเกี่ยวกับ "เสือ" ในสื่อมวลชนแขนงต่างๆ เกิดขึ้นอย่างแพร่หลายตั้งแต่ พ.ศ. 2460 เพื่อตอบสนองความสนใจของมวลชนที่ได้รับการศึกษาและสามารถเข้าถึงสื่อต่างๆ หลังสงครามโลกครั้งที่สองเรื่องเล่าเกี่ยวกับเสือเฟื่องฟูมาก ตอบสนองต่อความต้องการระบายออกของมวลชนเนื่องมาจากภาวะกดดันของสภาพเศรษฐกิจและสังคมหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เนื่องจากเรื่องเล่าเกี่ยวกับเสือได้รับความนิยมมาก ทำให้ผู้ผลิตสื่อต้องนำเรื่องราวเกี่ยวกับเสือมาผลิตซ้ำอยู่เสมอ โดยอาจเป็นการนำข้อมูลของเสือในอดีตกลับมาเขียนใหม่ หรือดัดแปลงเรื่องราวของเสือที่เป็นข่าวอยู่ในช่วงเวลานั้นให้เป็นรูปแบบใหม่ที่เร้าอารมณ์มากขึ้น การผลิตซ้ำภาพลักษณ์ของเสือนี้ไม่ได้คงที่อยู่ในรูปแบบเดิม หากเปลี่ยนแปลงไปตามบริบททางประวัติศาสตร์ของไทย การผลิตซ้ำเรื่องเล่าเกี่ยวกับเสือจึงเป็นการสร้างภาพลักษณ์ของเสือที่จะสะท้อนให้เห็นค่านิยมและอุดมการณ์ในสังคมไทยที่แฝงมาในเรื่องเล่าเกี่ยวกับเสือนั่นเองen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study various forms of Sua narratives represented and reproduced in popular media from 1917 to 1967 and recognise the media's role and influence in making Sua narratives so popular among Thais that images of Sua come to reflect values and ideals in Thai society throught popular legends about Sua in the historical context. The research finds that reproduction and popularisation of Sua narratives in various medias had started since 1917 to satisfy the curiosity of people who can reach modern media through their education. Sua narratives in media flourished even more after the World War II as a way to escape from the hardness of reality. To maintain its popularity , the media mongers tried to remake Sua's stories by rewriting the legendary bandits in the past or adapt the current Sua's stories in more dramatic and sensational representations. The methods of reproducing Sua through different time periods, therefore, create images of Sua which are reflections of values and ideologies in Thai society.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1099-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเสือ -- ไทยen_US
dc.subjectเสือ -- ภาพลักษณ์en_US
dc.subjectค่านิยมสังคม -- ไทยen_US
dc.subjectTigers -- Thailanden_US
dc.subjectSocial values -- Thailanden_US
dc.titleการผลิตซ้ำและการสร้างความนิยมของเรื่องเล่าเกี่ยวกับ "เสือ" ในสังคมไทย พ.ศ.2460-2510en_US
dc.title.alternativeReproduction and popularisation of Sua narratives in Thai society, 1917-1967en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประวัติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChalong.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1099-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
siriwan_la.pdf3.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.