Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36088
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพโรจน์ ลดาวิจิตรกุล-
dc.contributor.authorณัฐชา เมฆเจริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-10-10T02:12:03Z-
dc.date.available2013-10-10T02:12:03Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36088-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractการวิเคราะห์ขนาดสัดส่วนร่างกายของวัยรุ่นตามแนวทางการยศาสตร์นั้น จำเป็นต้องรู้ข้อมูลขนาดสัดส่วนร่างกายของผู้ใช้งาน ซึ่งการหาข้อมูลดังกล่าวสามารถทำได้หลายวิธีตั้งแต่การวัดโดยตรงจากกลุ่มประชากร การใช้ค่ามาตรฐานสัดส่วนร่างกาย รวมถึงการใช้ความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ การหาความสัมพันธ์ของสัดส่วนต่างๆ ของร่างกายที่ใช้กับข้อมูลพื้นฐานที่มี คือ น้ำหนักและส่วนสูงของนักเรียนจะช่วยให้การการวิเคราะห์ข้อมูลสัดส่วนร่างกาย ซึ่งการหาความสัมพันธ์เหล่านี้ได้เก็บรวบรวมข้อมูลขนาดสัดส่วนร่างกายเด็กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในท่ายืนและท่านั่งจำนวน 20 สัดส่วน และการวัดกำลังสถิตของกล้ามเนื้อทั้ง 4 ท่ารวมทั้งคำนวณค่าแรงกดอัดที่หลังส่วนล่าง จากจำนวนนักเรียน 420 คน สมการถดถอยเชิงเส้นและสมการความสัมพันธ์ถดถอยพหุคูณ ถูกนำมาใช้หาความสัมพันธ์ดังกล่าว ถูกสร้างขึ้นจากตัวแปรต้น คือ ข้อมูลด้านความสูงและน้ำหนักของร่างกาย โดยแต่ละสัดส่วนแสดงเป็นสมการ 3 สมการ คือ 1. สมการที่ใช้ข้อมูลเฉพาะความสูง 2. สมการที่ใช้ข้อมูลเฉพาะน้ำหนัก และ 3. สมการที่ใช้ข้อมูลทั้งความสูงและน้ำหนักร่วมกัน ซึ่งแต่ละสมการให้ค่า สัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (R²) ที่แตกต่างกัน โดยส่วนมากสมการที่ใช้ข้อมูลด้านความสูงและน้ำหนักร่วมกันจะให้ค่า R² สูงกว่าการใช้ตัวแปรต้นเพียงตัวแปรใดตัวแปรหนึ่ง ดังนั้นการนำสมการไปใช้งานจึงขึ้นอยู่กับผู้ใช้งานว่าต้องการความแม่นยำมากน้อยเพียงใด และในส่วนของการวัดกำลังสถิตกล้ามเนื้อทำให้เราทราบค่าน้ำหนักยกหรือภาระงานที่เหมาะสมและยอมรับได้ซึ่งไม่เกิดอันตรายต่อแรงงานในแต่ละช่วงอายุและเพศ ซึ่งพิจารณาทั้งส่วนของกำลังสถิตของกล้ามเนื้อและแรงกดอัดที่หลังส่วนล่างen_US
dc.description.abstractalternativeTo design a workstation to suit the body proportion of the teens to follows the requirement of ergonomic; we need to know the anthropometric data of users. In terms to get this information; there is several approaches i.e. direct measurement from the target group, use standard value of anthropometric data or use mathematical for counting body proportion. To find the relationship of body proportion to invent the workstation to suit the teens; we could obtain the basic information such as weight and height of the teens in the high school. To get relevant information of body proportion, it has been conducted the data collection of 20 types of body proportion of the teens in the high school in the form of sitting and standing with the total of 420 students. These data collections have been done with using of digital camera to capture the types of body proportion. The Equation of linear regression and Equation of Multiple Regression has been used to find the relationship; these equations in this analysis of the weight and height relationship has been found that the appendage of body such as legs and arms tends to increase in the same direction of body height increase. For the proportion in the area of body fat accumulation such as thigh and hip; it is tends to increase in the same direction of the increasing of body weight.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.708-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectมานุษยมิติen_US
dc.subjectสัดส่วน (มานุษยมิติ)en_US
dc.subjectวัยรุ่น -- มานุษยมิติen_US
dc.subjectเออร์โกโนมิกส์en_US
dc.subjectการออกแบบ -- มนุษย์ปัจจัยen_US
dc.subjectน้ำหนักตัวen_US
dc.subjectAnthropometryen_US
dc.subjectProportion (Anthropometry)en_US
dc.subjectAdolescence -- Anthropometryen_US
dc.subjectHuman engineeringen_US
dc.subjectDesign -- Human factorsen_US
dc.subjectBody weighten_US
dc.titleการวิเคราะห์ข้อมูลสัดส่วนร่างกายและแรงกดอัดที่หลังส่วนล่างของประชากรอายุ 13 – 18 ปีen_US
dc.title.alternativeAnalysis of anthropometric data and low back compressive force of 13 – 18 year-old populationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorphairoat@hotmial.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.708-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nutcha_me.pdf2.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.