Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36168
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรสัณฑ์ บูรณากาญจน์-
dc.contributor.authorภูริวัจน์ ปุณยวุฒิปรีดา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2013-10-15T08:31:50Z-
dc.date.available2013-10-15T08:31:50Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36168-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractกฎหมายด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารควบคุม มีกฎหมายที่ใช้บังคับและเกี่ยวข้องเช่น พรบ.การ ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 พระราชกฤษฎีกา กำหนดอาคารควบคุม พ.ศ. 2538 กฎกระทรวง พลังงาน พ.ศ. 2552 กฎหมายทั้ง 3 ฉบับร่วมกันบังคับใช้ในการอนุรักษ์พลังงานในอาคารควบคุม การบังคับใช้ จึงมีความทับซ้อนของอำนาจหน้าที่ และซ้ำซ้อนของตัวบทกฎหมายประกอบกับกฎหมายมีช่องว่างในการบังคับ ใช้ และเมื่อปฏิบัติตามกฎหมาย ไม่สามารถประหยัดพลังงานได้จริง เพราะพบว่าอาคารควบคุมในปัจจุบันยังไม่ ประหยัดพลังงาน และ เช่นอาคารสำนักงานทั่วไปมีค่า OTTV มากกว่า 50 W/m2 ค่า RTTV มากกว่า 30 W/m2 และค่าใช้พลังงาน 420 k Wh/m2/yr จากการศึกษา พรบ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 พบว่ามี ประเด็นสำคัญ ได้แก่ การใช้วัสดุ ประสิทธิภาพของเครื่องจักร ช่องเปิดกระจก การวางทิศทางของอาคาร รูปแบบ ของอาคาร ยังไม่ครอบคลุมปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการออกกฎหมาย การอนุรักษ์การใช้พลังงานในอาคาร เพื่อ การศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพล ได้แก่ คุณสมบัติกันความร้อนของวัสดุผิวนอกอาคาร พื้นที่ ผิวภายนอกอาคารที่น้อยที่สุด ปรับปรุงสภาพแวดล้อมรอบอาคารให้เย็นลง ที่เป็นปัจจัยช่วยลดการใช้พลังงาน ภายในอาคารได้ และการใช้พลังงานของอาคารในทางกฎหมายที่พบปัญหาดังกรณีตัวอย่างที่เลี่ยงกฎหมาย ออก ทางช่องว่างของกฎหมาย เช่นในลักษณะของอาคารชุด การแบ่งเลขที่ห้องตามจำนวนห้อง และการใช้พลังงาน ภายในห้องแต่ละห้องที่สามารถเลี่ยงจากกฎหมายที่กำหนดในลักษณะของอาคารที่ควบคุม ผลจากการวิเคราะห์วิจัยกฎหมาย การอนุรักษ์พลังงานในอาคาร สรุปได้ว่า พรบ.การส่งเสริมการ อนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 และกฎหมายที่เกี่ยวข้องขาดประสิทธิภาพในการแก้ปัญหาในเรื่องของการลดใช้ พลังงานในอาคารและกฎหมายที่ใช้บังคับอาคารควบคุมซึ่งควร แก้ไขเพิ่ม เติม กฎหมายที่ใช้ในปัจจุบันให้ ครอบคลุมทุกประเภทของอาคารอุดช่องว่างของกฎหมาย และลดการใช้พลังงานภายในอาคารได้จริงจากการวิจัย และมีผลพิสูจน์แล้ว โดยมีโคร่งร่างกฎหมาย พรบ.ควบคุมอาคารด้านการอนุรักษ์พลังงานที่เหมาะสมกับอาคาร ในประเทศไทย ที่ควรนำไปใช้บังคับใช้ซึ่งแก้ไข และเพิ่ม เติมในเรื่องของการลดใช้พลังงานภายในอาคารที่ ปฏิบัติได้จริง และการแก้ปัญหาการหลีกเลี่ยงการเข้า เป็นอาคารควบคุม เพื่อการบังคับใช้ให้เกิดความเสมอภาค ไม่ละเมิด ไม่รับภาระ และไม่ลิดรอนสิทธิเสรีภาพ ของผู้ไม่ปฏิบัติ และผู้ปฏิบัติต้องกระทำด้วย ความสมัครใจ และได้ประโยชน์จากการปฏิบัติตาม ของการประหยัดพลังงานลดค่าใช้จ่าย รัฐมีส่วนเข้ามาช่วย เหลือดูแลจริง และมีผลถึงคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeBuilding code and local regulations today have many problems. First, law enforcement is one common problem for officers and local people. It is very few energy conservation experts in local staffs. Therefore, it has limit energy conservation promotion and officer to enforce the law. Moreover, follow the regulations; buildings still consume the similar amount of energy as common design since each factor is not the only impact factor. The only way to comply energy conservation concept is to integrate all impact factors. The second issue is that regulations have some gap in law structure. Committees normally do not know the new technologies or some knowledge are obsolete. U-value of wall, for instance, the regulation requires only the total value but the layer of material in wall combination is very critical since it may cause condensation inside. An insulated glazing provides very good u-value with higher cost but if it faces to direct sun ray, it’s thermal conduction propriety has less impact to reduce cooling load. It is found that the energy conservation impact factors need to be included in energy regulations. The factors are material propriety as thermal value, building envelop ratio, site environment propriety, and equipments. It is also included building types which almost every buildings except small consumption units. The committees would need experts in each area with the same goal as to combine their knowledge providing both design guideline in the beginning and develop higher level enforcement later on. Every 5 Amp building or higher needs to follow the energy regulations. Each unit in condominium or apartment needs to follow the law no exception.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1121-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการอนุรักษ์พลังงาน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทยen_US
dc.subjectอาคาร -- การอนุรักษ์พลังงาน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทยen_US
dc.subjectEnergy conservation -- Law and legislation -- Thailanden_US
dc.subjectBuildings -- Energy conservation -- Law and legislation -- Thailanden_US
dc.titleโครงร่างกฎหมาย พรบ. ควบคุมอาคารด้านการอนุรักษ์พลังงานที่เหมาะสมกับอาคารในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeLaw drafting of building control in energy conservation which appropriate to building in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorvorasun@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1121-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
phuriwat_pu.pdf2.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.