Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36298
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ | - |
dc.contributor.advisor | ปิยพงษ์ สุเมตติกุล | - |
dc.contributor.author | ราตรี ศรีไพรวรรณ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-10-21T09:10:48Z | - |
dc.date.available | 2013-10-21T09:10:48Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36298 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมาตรฐานสากลระดับประถมศึกษา (2) เพื่อพัฒนากลยุทธ์การบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมาตรฐานสากลระดับประถมศึกษาใช้วิธีการวิจัยเป็นแบบทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ข้อมูลจากแบบสอบถาม วิเคราะห์ด้วยสถิติบรรยายและวิเคราะห์ลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นด้วยเทคนิค PNI modified การประเมินกลยุทธ์และการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิวิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมาตรฐานสากลระดับประถมศึกษามีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกด้านโดยเรียงตามลำดับดังนี้ ด้านการนำองค์การ (ค่าเฉลี่ย = 4.17) 2)ด้านผลลัพธ์ (ค่าเฉลี่ย = 4.16) ด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์(ค่าเฉลี่ย = 4.12) ด้านการมุ่งเน้นผู้เรียน/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ ด้านการจัดการกระบวนการ (ค่าเฉลี่ย = 4.08) 5) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้และด้านการมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน (ค่าเฉลี่ย = 4.02) ส่วนสภาพที่พึงประสงค์พบว่ามีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับมากที่สุดทุกด้านเรียงตามลำดับดังนี้ด้านการนำองค์การเท่ากับด้านผลลัพธ์(ค่าเฉลี่ย = 4.65) รองลงมาเป็นด้านการจัดการกระบวนการ (ค่าเฉลี่ย = 4.62) ด้านการมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน (ค่าเฉลี่ย = 4.61) ด้านการวางแผนเชิง กลยุทธ์ (ค่าเฉลี่ย = 4.60) ด้านการมุ่งเน้นผู้เรียน/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ค่าเฉลี่ย = 4.58) ด้านการวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้(ค่าเฉลี่ย = 4.57)ตามลำดับ ความต้องการในการพัฒนาการบริหารสู่ความเป็นเลิศฯในภาพรวมมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 0.12 (PNI [subscript modified] = 0.12) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าดัชนีความต้องการจำเป็นในการพัฒนามากที่สุด คือ ด้านการมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน (PNI [subscript modified] = 0.15) รองลงมา คือ ด้านการวัดการวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (PNI [subscript modified] = 0.14) และด้านการจัดการกระบวนการ (PNI [subscript modified] = 0.13) กลยุทธ์การพัฒนาการบริหารสู่ความเป็นเลิศฯมี 3 กลยุทธ์หลักคือ 1. กลยุทธ์ ผูกใจผู้ปฏิบัติงาน (Workforce Engagement) 2. กลยุทธ์ปรับปรุงการบริหารผลการดำเนินงาน (Performance Management Improvement) 3. กลยุทธ์ปรับปรุงระบบและกระบวนการ(Work System and Process Improvement) และ 12 กลยุทธ์รองคือ 1) การจัดทำแผนพัฒนาเส้นทางความก้าวหน้าในวิชาชีพ (Career Planning) 2.พัฒนาระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System) 3 )ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการเสริมสร้างวัฒนธรรมขององค์การ(Community Participation in School Culture) 4) พัฒนาสถานศึกษาน่าอยู่และปลอดภัย (Safety School) 5) สร้างเสริมขีดความสามารถของบุคลากร(Empowerment) 6) พัฒนาระบบสารเทศผลการดำเนินงาน (Information System Development) 7) พัฒนาระบบการวัดผลการดำเนินงาน (Performance Management Improvement) 8) พัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้(Learning Network)ทั้งภายในและภายนอกองค์การ 9) ออกแบบระบบงาน และกระบวนการทำงานให้พร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน(Emergency Management) 10) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนในการออกแบบงานและกระบวนการทำงาน(Stakeholder Participation)11)พัฒนากระบวนการทำงานโดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม (Technology and Innovation)12) พัฒนาระบบควบคุมภายใน (Internal control System Improvement) | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were as follows: 1) To study the current states and desirable states of the management strategies toward excellence of the world class-standard elementary school. and 2) To develop the strategies of the management toward excellence of the world class-standard elementary school. This research is the Descriptive Research which the data were gathered from the questionnaires. Descriptive statistics are used in the data’s analysis and PNImodified technique is used to analysis the demand’s priority . Educated experts operated the focus group to examine the strategies’ suitability. The research’s result showed that (1) The current state of school management in The worldclass-standard school were performed at the high level as a whole and every criteria category. In desirable situation, every criteria category is the highest as follow : Leadership. (4.17) 2) The Result (4.16) Strategies Planning (4.12) Customer Focus and Process Management (4.08) 5) Evaluation , Analysis and knowledge management and Workforce Focus (4.02) . And in desirable states were performed at the high level in every criteria as follow : : Leadership and the Result (4.65) , the Process Management (4.62) , Workforce Focus (4.61) , Strategies Planning (4.60), Customer Focus (4.58) , and Evaluation , Analysis and knowledge management (4.57). The average of the developing the strategies of the management toward excellence’s demand was 0.12 (PNI [subscript modified] = 0.12)as a whole. After considering individually , the indexes which should be developed were as follow: Workforce Focus (PNI [subscript modified] = 0.15), Evaluation , Analysis and knowledge management (PNI [subscript modified] = 0.14) ,and Process Management (PNI [subscript modified] = 0.13).2) The strategy of the management toward excellence of the worl dclass-standard elementary school composes of three strategies: 1) Workforce Engagement 2) Performance Management Improvement 3) Work System and Process Improvement and the twelve vice strategies as follow: 1) Career Planning 2 ) Mentoring System3 ) Community Participation in School Culture 4) Safety School5) Empowerment 6) Information System Development 7) Performance Management Improvement 8) Learning Network 9) Emergency Management 10) Stakeholder Participation11) Technology and Innovation and 12) Internal control System Improvement. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1576 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | โรงเรียน -- การบริหาร | en_US |
dc.subject | โรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหาร | en_US |
dc.subject | School management and organization | en_US |
dc.subject | Elementary school administration | en_US |
dc.title | การพัฒนากลยุทธ์การบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมาตรฐานสากลระดับประถมศึกษา | en_US |
dc.title.alternative | The development of management strategies toward excellence of the world class - standard elementary school | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.degree.discipline | บริหารการศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | pruet.s@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2012.1576 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ratree_sr.pdf | 19.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.