Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36484
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนงลักษณ์ วิรัชชัย-
dc.contributor.authorยุวรี ผลพันธิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-10-31T07:02:27Z-
dc.date.available2013-10-31T07:02:27Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36484-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์และเปรียบเทียบความตรงของโมเดลการวัดตัวแปรบริบทโรงเรียนกับตัวแปรความเหนื่อยหน่ายแบบรวมและแบบแยกองค์ประกอบ 2) พัฒนาและตรวจสอบโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของผลการปฏิบัติงานที่มีตัวแปรความ เชื่อในประสิทธิภาพของตน ความเหนื่อยหน่าย และความพึงพอใจงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน และ 3) วิเคราะห์ลักษณะการส่งผ่านของตัวแปรความเชื่อในประสิทธิภาพของตน ความเหนื่อยหน่าย และความพึงพอใจงานในโมเดลผลการปฏิบัติงานของครู กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 845 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และวิเคราะห์ความตรงของโมเดลด้วยโปรแกรมลิสเรล ผลการวิจัยพบว่า 1) โมเดลการวัดบริบทโรงเรียนและโมเดลการวัดความเหนื่อยหน่ายแบบรวมองค์ประกอบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์มากกว่าโมเดลการวัดแบบแยกองค์ประกอบ 2) ผลการวิเคราะห์ความตรงของโมเดล พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์มีค่า = 102.88, df=85, p=0.091, GFI=0.987, AGFI=0.972, RMR=0.009, RMSEA=0.016 โดยตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของผลการปฏิบัติงานของครูได้ร้อยละ 75.9 และ 3) ตัวแปรความเชื่อประสิทธิภาพของตน ความเหนื่อยหน่าย และความพึงพอใจงานมีบทบาทการส่งผ่านแบบสมบูรณ์จากบริบทโรงเรียนไปยังผลการปฏิบัติงานของครู และตัวแปรความเหนื่อยหน่ายมีบทบาทส่งผ่านแบบบางส่วนจากความกดดันด้านเวลาไปยังผลการปฏิบัติงานของครูen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research were 1) to analyze and compare models between the combined and separated measuring factors of school context and burnout, 2) to develop and validate the causal model of teacher’s job performance including self-efficacy, burnout and job satisfaction as mediating variables and 3) to analyze the mediating roles of self-efficacy, burnout and job satisfaction in a teacher’s job performance model. Sample consisted of 845 primary and secondary teachers in public schools. Data were collected using questionnaires and analyzed using LISREL to validate the causal model. The findings revealed that 1) the model with combined measuring factors of school context and burnout had better model-data fit, as compared with the model with separated measuring factors. 2) the model fit statistics were = 102.88, df=85, p=0.091, GFI=0.987, AGFI=0.972, RMR=0.009, RMSEA=0.016. It could accounted for 76.9 percent of job performance. 3) self-efficacy, burnout and job satisfaction were full mediators between school context and teacher’s job performance whereas burnout was partial mediator between time pressure and teacher’s job performance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1502-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการประเมินผลงานen_US
dc.subjectครู -- การประเมินen_US
dc.subjectครู -- ความพอใจในการทำงานen_US
dc.subjectความเหนื่อยหน่าย (จิตวิทยา)en_US
dc.subjectJob evaluationen_US
dc.subjectTeachers -- Rating ofen_US
dc.subjectTeachers -- Job satisfactionen_US
dc.subjectBurn out (Psychology)en_US
dc.titleบทบาทการส่งผ่านความเชื่อประสิทธิภาพของตน ความเหนื่อยหน่าย และความพึงพอใจงานในโมเดลผลการปฏิบัติงานของครูen_US
dc.title.alternativeThe madiating roles of self-efficacy, burnout and job satisfaction in a teacher’s job performance modelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNonglak.W@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1502-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
yuwaree_pl.pdf3.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.