Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36520
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชญ์ ศุภผล-
dc.contributor.advisorประสิทธิ์ ภวสันต์-
dc.contributor.authorสิริรัตน์ เพ็ญศิริกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-11-02T04:34:29Z-
dc.date.available2013-11-02T04:34:29Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36520-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractโครงสร้างเซลล์สามมิติได้ถูกพิจารณาว่ามีผลต่อการเจริญและการสร้างสารองค์ประกอบนอกเซลล์ของเซลล์ งานวิจัยจึงได้ขึ้นรูปพอลิคาโปรแลกโตนที่มีรูพรุนด้วยการระเหยตัวทำละลายและซะเอาเกลือออก จากนั้นจึงเคลือบพื้นผิววัสดุด้วยผสมเจลาติน/ไฮยาลูโรแนน/คอน-โดรอิ-ตินซัลเฟตด้วยวิธีการแช่แข็งและทำให้แห้ง จากนั้นให้วัสดุเกิดปฏิกิริยาเชื่อมพันธะกันด้วย 1-เอทิล-3 (3-ไดเมทิลอะมิโนโพรพิล) เพื่อชะลออัตราการย่อยสลายของวัสดุ ประเมินสมบัติางสัณฐานวิทยาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนส่องกราด พบโครงสร้างที่มีรูพรุนขนาดของรูอยู่ที่ 265-350 ไมครอน ซึ่งเป็นขนาดที่เหมาะแก่การเลี้ยงเซลล์ การศึกษาสมบัติทางเคมีพื้นผิวด้วยการวิเคราะห์มุมสัมผัสของน้ำสามารถยืนยันได้ว่า โครงเลี้ยงเซลล์ที่มีเจลาตินอยู่บนพื้นผิวมีความชอบน้ำมากขึ้นกว่าวัสดุพอลิคาโปรแลกโตน ผลการทดสอบความสามารถในการดูดซับน้ำ แสดงให้เห็นถึงการดูดซับน้ำได้มากขึ้นของวัสดุเจลาตินที่ผ่านกระบวนการเชื่อมพันธะ จากการประเมินความเข้ากันได้ทางชีวภาพพบว่า วัสดุโครงเลี้ยงเซลล์จากพอลิคาโปรแลกโตนและพอลิคาโปรแลกโตนที่มีเจลาติน/ไฮยาลูดรแนน/คอนโดรอิตินซัลเฟต ไม่ก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อเซลล์และยังช่วยเกื้อหนุนการเกาะของเซลล์ต้นกำเนิดโพรงฟันบนพื้นผิววัสดุได้ดีขึ้นอีกด้วยen_US
dc.description.abstractalternativeThree dimensional scaffolds have been considered to have certain effets on cell growth and the secretion of extracellular matrices (ECMs.) In this study, a porous polycaprolactone (PCL) was fabricatd by solvent casting and particulate leaching method which incorporated with gelatn-hyaluronate-chondroitin sulfate on its surfae by freeze-drying method. To decline degradation rate, 1-etyl-3-(3-dimethylamino-propyl)-arbodiimine (EDC) was used in crosslink system. Scanning electron microscope (SEM) was used to investigate morphology. The scaffold showed pore size between 265-350 µm, which preferable for cell culturing. Chemical property analysis confirmed greater hydrophilicity than polycaprolactone surface. Scaffold with crosslinked glatin demonstratd better water absorption. Biocompatbility evaluation by human dental pulp cell indicated no toxicity of porous PCL saffolds and PCL with gelatin-hyaluronate-chondroitin sulfate. In addition, gelatn-hyaluronate-chondroitin sulfate on PCL scaffold also upported cell attachment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1205-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวิศวกรรมเนื้อเยื่อen_US
dc.subjectเนื้อเยื่อสังเคราะห์en_US
dc.subjectวัสดุรูพรุนen_US
dc.subjectTissue engineeringen_US
dc.subjectTissue scaffoldsen_US
dc.subjectPorous materialsen_US
dc.titleการขึ้นรูปและคุณสมบัติของโครงเลี้ยงเซลล์ที่มีรูพรุนจากพอลิคาโปรแลกโตนเคลือบด้วยเจลาติน/ไฮยาลูโรแนน/คอนโดรอิตินซัลเฟตen_US
dc.title.alternativeFabrication and properties of gelatin/hyaluronan/chondroitin sulfate coated on porous polycaprolactone scaffolden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมชีวเวชen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPitt.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorPrasit.Pav@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1205-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sirirat_pe.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.