Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36526
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัศมน กัลยาศิริ-
dc.contributor.advisorลดาวัลย์ อุ่นประเสริฐพงศ์-
dc.contributor.authorวรรณจรี มณีแสง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-11-02T05:14:29Z-
dc.date.available2013-11-02T05:14:29Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36526-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบ cross-over และ double-blind มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความอยากเสพสารระเหย ในผู้เข้ารับการบำบัดการติดสารระเหย ณ สถาบันธัญญารักษ์ 34 คน เมื่อไม่ได้รับการสูดดมสารใดเปรียบเทียบกับเมื่อได้รับการสูดดมน้ำมันหอมระเหย ขณะที่ดูภาพกระตุ้นความอยากเสพสารระเหยทางจอคอมพิวเตอร์ และเพื่อเปรียบเทียบผลของความอยากเสพสารระเหยเมื่อกลุ่มตัวอย่างได้รับการสูดดมน้ำมันหอมระเหย เปรียบเทียบกับการได้รับการสูดดมน้ำหอมธรรมดา ขณะที่ดูภาพกระตุ้นความอยากเสพสารระเหยทางจอคอมพิวเตอร์ โดยใช้ระยะเวลาห่างกัน 2 วัน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบวัดระดับความอยากเสพสารระเหย Penn Alcohol Craving Score (PACS) ฉบับแปลภาษาไทยและแบบวัดความรู้สึก Visual Analog Scale (VAS) 9 ด้าน โดยกลุ่มตัวอย่างสามารถเลือกคำตอบผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตนเอง จากนั้นนำข้อมูลที่บันทึกได้มาวิเคราะห์ด้วยสถิติ Generalized estimating equations (GEE) และ pair t-test ผลการวิจัยพบว่า ในวันที่ได้รับการสูดดมน้ำมันหอมระเหย กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความอยากเสพสารระเหยน้อยกว่าในวันที่ไม่ได้รับการสูดดมสารใด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับน้อยกว่า 0.01 และในวันที่ได้รับการสูดดมน้ำมันหอมระเหย กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความอยากเสพสารระเหยไม่แตกต่างจากในวันที่ได้รับการสูดดมน้ำหอมธรรมดา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับน้อยกว่า 0.05 ดังนั้นการสูดดมน้ำมันหอมระเหยจึงน่าจะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการนำไปใช้บำบัดเพื่อลดความอยากเสพสารระเหยในผู้ที่ติดสารระเหยได้en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this double-blind cross-over experimental research were to study of the effect of aromatherapy on craving response in 34 males receiving inhalants substance-dependency treatment at Thanyarak Institute. The aim is to compare the level of inhalants craving on the day treated by aroma oil with those treated by perfume or not treated with anything when the subjects watching inhalant cues. The data were collected by the modified version of Penn Alcohol Craving Score for inhalants (PACS-inhalants) (Thai-version) and the visual analog scale (VAS). All measurements were computerized on computer screen. Data were analyzed by using generalized estimating equations (GEE) and pair t-test. The finding of this study were as follows: The inhalants craving when receiving aroma oil was significantly lower than no treatment at the 0.01 level. The inhalants craving when receiving aroma oil was not significantly lower than perfume at the 0.05 level. The result suggested that aromatherapy may reduce inhalants craving when individuals were exposed to inhalants cues.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1208-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสารประกอบอะโรมาติกen_US
dc.subjectน้ำมันหอมระเหยen_US
dc.subjectการบำบัดด้วยกลิ่นen_US
dc.subjectการใช้สารเสพติดen_US
dc.subjectAromatic compoundsen_US
dc.subjectEssences and essential oilsen_US
dc.subjectAromatherapyen_US
dc.subjectSubstance abuseen_US
dc.titleผลของการใช้น้ำมันหอมระเหยต่อความอยากเสพสารระเหยของผู้เข้ารับการบำบัดการติดสารระเหย ณ สถาบันธัญญารักษ์en_US
dc.title.alternativeEffect of aromaterapy on craving response in individuals receiving inhalants substance-dependency treatment at Thanyarak Instituteen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorRasmon.K@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1208-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wanjaree_ma.pdf3.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.