Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36650
Title: การให้ความสำคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) ของบริษัทจดทะเบียนในประเทศไทย : มุมมองนักวิเคราะห์ทางการเงิน
Other Titles: The perception of the annual disclosure (form 56-1) of Thai listed companies : evidence from financial analysis
Authors: พรดาว ภัททกวงศ์
Advisors: วชิระ บุณยเนตร
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
Subjects: การเปิดเผยข้อมูล
บริษัทมหาชน
Disclosure of information
Public companies
Issue Date: 2546
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: แบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) เป็นเครื่องมือที่บริษัทจดทะเบียนใช้ติดต่อกับผู้ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ เพื่ออธิบายถึงลักษณะการประกอบกิจการ โครงสร้างการดำเนินงานผลการดำเนินงานที่ผ่านมา เป้าหมายในอนาคตของบริษัท การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นถึงการตระหนักถึงความสำคัญในแต่ละรายการที่เปิดเผยในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) และความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของแต่ละรายที่เปิดเผย ในการศึกษาได้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือการทำวิจัย โดยสงแบบสอบถามมาวิเคราะห์ทางสถิติ ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา และ Mann – Whitney U Test ผลที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้พบว่าข้อมูลแสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานได้รับความสำคัญสูงสุดทั้งจากนักวิเคราะห์การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์และนักวิเคราะห์สินเชื่อ และส่วนใหญ่เห็นว่าการเปิดเผยเพียงพออย่างไรก็ตามข้อมูลรายการระหว่างกันเป็นกลุ่มที่ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าการ เปิดเผยข้อมูลที่เป็นอยู่ยังไม่เพียงพอ และจากการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยในการให้ระดับความสำคัญของนักวิเคราะห์ทางการเงิน พบว่ารายการส่ววนใหญ่ไม่มีความแตกต่างกันมากนัก
Other Abstract: The annual disclosure (FORM 56-1) is an instrument, that listed companies use to communicate with their investors. It explains company’s business, structures, operation results and goals. This study aims to analyze the perception of credit and investment analysts on the annual disclosure require by the Stock Exchange of Thailand. In addition, the analysis intends to observe the analysts’ opinions on the sufficiency of the disclosures. The survey research is adopted in this study. Descriptive statistics and Mann-Whitney U Test are employed to analyze the data. The study points out that the most prestigious items in annual disclosure are companies’ financial positions and operations. Also the analysts accepts the sufficience of the disclosure on financial positions and operations. On the other hand, the analysts’ comments on insufficiently of the disclosure on related party transactions. Finally, when comparing the opinion, the study finds that credit and investment analysts seem not to be statistically different from each other.
Description: วิทยานิพนธ์ (บช.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Degree Name: บัญชีมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การบัญชี
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36650
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1264
ISBN: 9741757743
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2003.1264
Type: Thesis
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Porndao_pa_front.pdf2.62 MBAdobe PDFView/Open
Porndao_pa_ch1.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open
Porndao_pa_ch2.pdf5.96 MBAdobe PDFView/Open
Porndao_pa_ch3.pdf2.38 MBAdobe PDFView/Open
Porndao_pa_ch4.pdf8.38 MBAdobe PDFView/Open
Porndao_pa_ch5.pdf4.52 MBAdobe PDFView/Open
Porndao_pa_ch6.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open
Porndao_pa_back.pdf13.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.