Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36661
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ
dc.contributor.authorเกียรติศักดิ์ ศรีตระกูลชัย
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2013-11-15T11:06:13Z
dc.date.available2013-11-15T11:06:13Z
dc.date.issued2547
dc.identifier.isbn9745310735
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36661
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้ได้คิดค้นและพัฒนาเทคนิคใหม่สำหรับสร้างโครงสร้างตาข่ายสามเหลี่ยม (Triangular Mesh) สำหรับแบบจำลอง STL (STL Model) จากข้อมูลจุดของผิววัตถุซึ่งไม่รู้ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลจุด (Unorganized Points) โดยตรง ซึ่งได้พัฒนาอัลกอริทึมการจัดการและคัดแยกข้อมูลจุด (Organizing and Clustering) แบบโครงสร้างสืบทอดปรับตัวเองได้สองระดับ (Two-Level Adaptive Hierarchical Clustering Algorithm) ข้อมูลจุดที่อยู่ในโครงสร้างสืบทอดสองระดับจะเป็นข้อมูลจุดที่ได้ถูกคัดแยกอย่างเหมาะสมเพื่อใช้ในการสร้างแบบจำลอง STL นอกจากนั้นยังได้พัฒนาอัลกอริทึมสำหรับปรับการเชื่อมโยงโครงสร้างตาข่ายสามเหลี่ยมแบบปรับตัวเองได้ (Adaptive Self-Adjustable Connectivity of Triangular Mesh Structure Algorithm) เพื่อให้ลักษณะโครงสร้างตาข่ายสามเหลี่ยมมีคุณภาพที่ดี ผลลัพธ์ของการทดลองแสดงให้เห็นว่าเทคนิคที่ได้พัฒนาขึ้นนั้นมีประสิทธิภาพในการสร้างแบบจำลอง STL ของผิววัตถุที่มีความซับซ้อน เช่น แบบจำลองพื้นผิวที่ไม่ต่อเนื่องแบบเปิดที่มีรูและไม่มีรูอยู่ภายใน และแบบจำลองพื้นผิวแบบปิด นอกจากนั้นแบบจำลอง STL สามารถนำไปใช้งานกับโปรกรมประยุกต์ในงานทางด้านการออกแบบและผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ทั่วไปได้
dc.description.abstractalternativeIn this dissertation, the novel technique for surface reconstruction of the unorganized cloud points. The technique begins with the organization of the cloud points by using the two-level adaptive hierarchical clustering algorithm which is developed by the authors. We also develop an adaptive self-adjustable connectivity to improve triangular mesh structure. The result is that better mesh surfaces can be obtained. Experimental results have shown that these techniques work satisfactorily for complex surfaces, such as open surface models, discontinuous surface, for example, a surface with holes and without holes, as well as close surface models. In addition, the surface model in STL format can be imported to commercial CAD/CAM software for extended applications.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการพัฒนาเทคนิคขั้นสูงสำหรับการวัดพิกัด 3 มิติ ของวัตถุที่มีผิวซับซ้อนโดยใช้ภาพสเตอรีโอen_US
dc.title.alternativeThe development of an advanced technique for 3-D coordinate measurement of complex surfaces using stereo visionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kiattisak_sr_front.pdf3.79 MBAdobe PDFView/Open
Kiattisak_sr_ch1.pdf2.84 MBAdobe PDFView/Open
Kiattisak_sr_ch2.pdf6.97 MBAdobe PDFView/Open
Kiattisak_sr_ch3.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open
Kiattisak_sr_ch4.pdf7.46 MBAdobe PDFView/Open
Kiattisak_sr_ch5.pdf10.05 MBAdobe PDFView/Open
Kiattisak_sr_ch6.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open
Kiattisak_sr_back.pdf2.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.