Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37265
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorญาใจ ลิ่มปิยะกรณ์-
dc.contributor.authorชัยศิริ ถนัดค้า-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-12-08T06:09:30Z-
dc.date.available2013-12-08T06:09:30Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37265-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractวิศวกรรมย้อนกลับเป็นกระบวนการกู้คืนพิมพ์เขียวการออกแบบของระบบซอฟต์แวร์ที่ใช้งานมานาน งานวิจัยนี้ได้ประยุกต์ใช้หลักการวิศวกรรมย้อนกลับและความสามารถของภาษาเอ็กซ์เอ็มแอล เพื่อค้นพบเค้าร่างมาตรฐานเอกสารจากเอกสารที่เคยสร้างขึ้นอย่างถูกต้องมาก่อนของหน่วยงาน เค้าร่างเอ็กซ์เอ็มแอลของเอกสารที่ถูกต้องตามมาตรฐานถูกใช้เพื่อเปรียบเทียบกับ เค้าร่างเอ็กซ์เอ็มแอลของเอกสารข้อความนำเข้า ซึ่งจะถูกจัดรูปแบบใหม่ให้ตรงตามข้อกำหนดของหน่วยงาน วิธีที่นำเสนอช่วยให้งานจัดเตรียมเอกสารสิ้นเปลืองทรัพยากรลดน้อยลง และเป็นไปตามมาตรฐานองค์กร เมื่อประยุกต์แนวทางดังกล่าวกับเรื่องการปรับปรุงกระบวนการ สามารถลดภาระค่าใช้จ่ายประจำของงานเอกสารและเร่งให้กิจกรรมการตรวจทาน เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานรวดเร็วขึ้น การประเมินผลระบบที่พัฒนาขึ้นกระทำโดยการทวนสอบ และจัดรูปแบบวิทยานิพนธ์เป็นกรณีศึกษาen_US
dc.description.abstractalternativeReverse engineering is the process to recover the design blueprint of the legacy software systems. This research applies the principle of reverse engineering associated with the capability of XML to discover the document standard schema from the existing valid document of an organization. The XML schema of standardized document is used for comparison with that of the input text file, which will be then reformatted to conform to the unit’s specification. The presented method enables the task of document preparation to consume less resource and satisfy organizational standards. When applied to the area of process improvement, the approach could reduce the overhead of documentation chores and accelerate the activities of review against standards. The implemented system is evaluated by verifying and reformatting dissertation as a case study.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.777-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวิศวกรรมย้อนรอยen_US
dc.subjectเอ็กซ์เอ็มแอลen_US
dc.subjectวิทยานิพนธ์en_US
dc.subjectReverse engineeringen_US
dc.subjectXML ‪(Document markup language)‬en_US
dc.subjectDissertations, Academicen_US
dc.titleวิศวกรรมย้อนกลับเพื่อการทำเอกสารให้เป็นมาตรฐานเดียวกันen_US
dc.title.alternativeReverse engineering for document standardizationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมซอฟต์แวร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorYachai.L@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.777-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chaisiri_th.pdf2.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.