Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37400
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฟื่องอรุณ ปรีดีดิลก-
dc.contributor.advisorพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์-
dc.contributor.authorอัจฉรา ศรีพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-12-09T08:58:08Z-
dc.date.available2013-12-09T08:58:08Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37400-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและภาวะคุกคามของการถ่ายโอนความรู้ เพื่อปรับปรุงผลิตภาพการผลิตสินค้าและบริการในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 2) วิเคราะห์การปรับปรุงผลิตภาพการผลิตสินค้าและบริการในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่เกิดจากการถ่ายโอนความรู้ในปัจจุบัน และ 3) พัฒนากลยุทธ์การถ่ายโอนความรู้เพื่อปรับปรุงผลิตภาพการผลิตสินค้าและบริการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยใช้วิธีการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า 1) การถ่ายโอนความรู้ในปัจจุบันมีจุดแข็งคือ ชุมชนมีแหล่งความรู้ด้านวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงการผลิตสินค้า/บริการสร้างสรรค์จำนวนมาก จุดอ่อนคือ ชุมชนมีความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ภายในกับความรู้ภายนอกต่ำแต่มีการยึดติดกับความรู้สูง โอกาสคือ ชุมชนได้รับถ่ายโอนความรู้จากแหล่งความรู้ในด้านการปรับปรุงผลิตภาพการผลิตสินค้า สินค้า/บริการสร้างสรรค์จากภายนอกด้วยวิธีการที่หลากหลาย ภาวะคุกคามคือ การลอกเลียนแบบสินค้าระหว่างชุมชนต่างๆ 2) การถ่ายโอนความรู้เพื่อการปรับปรุงผลิตภาพการผลิตในปัจจุบันคือ การเข้าร่วมอบรมสัมมนา เนื้อหาความรู้ที่นำมาใช้ในการปรับปรุงผลิตภาพการผลิตได้คือ ความรู้ในการพัฒนาสินค้าและบริการเชิงวัฒนธรรมสร้างสรรค์ และความรู้ด้านการตลาด 3) กลยุทธ์การถ่ายโอนความรู้ที่เหมาะสมคือ กลยุทธ์ APPRECIATE ประกอบด้วย Attraction การดึงดูดความสนใจการถ่ายโอนความรู้ Participation การมีส่วนร่วมในการถ่ายโอนความรู้ Practical ความรู้เชิงปฏิบัติการ Relation ความรู้ที่สัมพันธ์กับวิถีชีวิต Education การถ่ายโอนความรู้ผ่านการศึกษาทั้งสามระบบ Culture ความรู้ทางด้านวัฒนธรรม Integration การบูรณาการ Activity การถ่ายโอนความรู้ผ่านกิจกรรม Technology การสร้างเทคโนโลยีที่เหมาะสม และ Environment การคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมen_US
dc.description.abstractalternativeTo 1) conduct SWOT (Strength, Weakness, Opportunity and Threat) analysis of cultural tourism industry 2) study the productivity improvement of goods and services in cultural tourism industry, and 3) develop knowledge transfer strategies for the productivity improvement of the industry. Both quantitative and quality research approach were used and the findings are as follows: 1) from SWOT analysis, we found that strength is that Thailand has many local cultural knowledge for developing creative goods and services. Weakness is the lack of external knowledge integration and knowledge embedding ability. Opportunity is the transfer of knowledge on productivity improvement from external sources of knowledge. Threat is the transcribing of creative products and services 2) knowledge transfer for productivity improvement in the present is attending conferences/seminars, the practical knowledge are creative production knowledge and marketing knowledge 3) knowledge transfer strategies for the productivity improvement of creative goods and services as indicated by this research is the use of APPRECIATE strategy. The strategy is divided into ten elements which are: Attraction is the attraction to attend knowledge transfer program, Participation is the participation in knowledge transfer program, Practical knowledge, Relation is the knowledge related with stakeholders lifestyle, Education is the way to educate stakeholders by formal, informal and, non-formal, Culture is local culture used as resource for production, Integration is the knowledge integration, Activity is the knowledge transfer activities, Technology is the community technology and Environment is the environmental knowledge.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.153-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้en_US
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมen_US
dc.subjectผลิตภาพen_US
dc.subjectKnowledge managementen_US
dc.subjectHeritage tourismen_US
dc.subjectProductivityen_US
dc.titleกลยุทธ์การถ่ายโอนความรู้เพื่อปรับปรุงผลิตภาพการผลิตสินค้าและบริการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์en_US
dc.title.alternativeKnowledge transfer strategies for the productivity improvement of goods and services in cultural tourism industries based on creative economy concepten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineพัฒนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorfuangarun.p@chula.ac.th-
dc.email.advisorpruet.s@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.153-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
atchara_sr.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.