Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37411
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรวิศ นฤปิติ-
dc.contributor.authorณพล ศรีศักดา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-12-11T01:47:19Z-
dc.date.available2013-12-11T01:47:19Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37411-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้เป็นการประยุกต์ใช้กราฟปริมาณจราจรสะสมและการวิเคราะห์คลื่นกระแทก เพื่อประมาณความยาวแถวคอย โดยใช้ข้อมูลจราจรจากเครื่องตรวจวัดการจราจรทุก 5 วินาที บน 1 ช่วงถนน โดยติดตั้งเครื่องตรวจวัดการจราจร 3 ตำแหน่ง ได้แก่ ตำแหน่งที่รถออกจากทางแยก (A), ตำแหน่งกึ่งกลางช่วงถนน (B), และ ตำแหน่งรถเข้าสู่ช่วงถนน (C) งานวิจัยนี้พิจารณาทั้งสภาพจราจรที่แถวคอยอยู่ในช่วงทางแยกถึงกึ่งกลางช่วงถนน (A-B) และ สภาพจราจรติดขัดที่แถวคอยยาวล้นเกินตำแหน่งกึ่งกลางช่วงถนน (B-C) ผลการประมาณในแต่ละวิธี จะเปรียบเทียบความคลาดเคลื่อนกับแถวคอยที่วัดจริงจากการสังเกตในภาคสนาม ทั้งในกรณีที่แถวคอยล้นและไม่ล้นตำแหน่ง B ผลการศึกษา พบว่า วิธีกราฟปริมาณจราจรสะสมเกิดความคลาดเคลื่อนเนื่องจากจำนวนรถสะสมที่ยังไม่ได้ติดแถวคอย การเปลี่ยนช่องจราจรของรถ และ การเลื่อนกราฟปริมาณจราจรสะสม ขณะที่วิธีการวิเคราะห์คลื่นกระแทก ถ้าไม่ได้พิจารณากราฟความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณจราจรกับความหนาแน่น ความคลาดเคลื่อนจะเกิดจากความแปรผันของค่าคลื่นกระแทก แต่หากใช้กราฟนี้ ความแปรผันของค่าคลื่นกระแทกจะน้อยลง มีผลทำให้มีความคลาดเคลื่อนลดลง เมื่อเปรียบเทียบผลการประมาณทั้ง 2 วิธี การวิเคราะห์คลื่นกระแทกจะให้ผลการประมาณที่ใกล้เคียงกว่าการใช้กราฟปริมาณจราจรสะสม นอกจากนี้การพิจารณาตำแหน่ง B-C สามารถช่วยประมาณแถวคอยในสภาพการจราจรที่ติดขัดได้en_US
dc.description.abstractalternativeThis research applied cumulative plot and shockwave analysis to estimate queue length on arterial road in using five seconds interval traffic data collected from traffic detectors. Three detectors: at the downstream (A); at the middle of section (B); and at the upstream (C), were installed on the section. The queue estimation was carried out for both the traffic condition that the queue did not reach the mid-section detector (A-B), and the traffic condition that the queue grew beyond the mid-section (B-C). The observed queue in the field was brought to compare with estimated queue in both detector B spillover and non-spillover cases. The results found significant error of cumulative plot estimation from non-stop vehicles in section considered, lane change, and time lag. For shockwave analysis, without using flow-density curve had error from fluctuation of shockwave values in each five seconds, but using q-k curve was able to reduce it and gave less error. To summarize, shockwave analysis gave more reliable estimation than cumulative plot, and B-C estimation could help to estimate queue in traffic congestion period.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1094-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectทฤษฎีการคอยลำดับen_US
dc.subjectถนน -- สี่แยกen_US
dc.subjectจราจร -- การจัดการen_US
dc.subjectQueuing theoryen_US
dc.subjectSignalized intersectionsen_US
dc.subjectRoads -- Interchanges and intersectionsen_US
dc.subjectCommunication and traffic -- Managementen_US
dc.titleการประมาณความยาวแถวคอย โดยการประยุกต์กราฟปริมาณการจราจรสะสมและการวิเคราะห์คลื่นกระแทกen_US
dc.title.alternativeQueue length estimation at signalzed intersection by applying cumulative plot and shockwave analysisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorkong@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1094-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
napon_sr.pdf6.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.