Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3750
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ชรพร เชาวกิจเจริญ-
dc.contributor.authorชนิดาภา พันธไชย, 2524--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2007-07-20T11:53:37Z-
dc.date.available2007-07-20T11:53:37Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.issn9745316911-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3750-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการสกัดสารแอนทราควิโนนออกจากซิลิกา-อะลูมินาที่ใช้แล้วจากโรงงานอุตสาหกรรม โดยใช้เอทานอล เมทานอล และไอโซโพรพานอลเป็นตัวทำละลายซึ่งสารแอนทราควโนนที่สกัดไก้ จะมีสีน้ำตาลแดง มีค่าการดูดกลืนแสงที่ 256 นาโนเมตร โดยใช้เครื่องยูวีวิสสิเบิสเปคโตรโฟโตมิเตอร์เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ ทำการทดลอง โดยการศึกษาหาระยะเวลาที่เหมาะสมในการสกัด ทำการแปรค่าระยะเวลาในการสกัดเป็น 10, 20, 30, 40, 50 และ 60 นาที พบว่าตัวทำละลายทั้ง 3 ชนิด มีระยะเวลาการสกัดที่เหมาะสม คือ 10 นาที เนื่องจากใช้ระยะเวลาในการสกัดน้อยกว่า แต่ให้ประสิทธิภาพในการสกัดใกล้เคียงกันกับระยะเวลาอื่นๆ จากนั้นทำการแปรผันค่าความเร็วรอบที่ทำการสกัดที่ 100, 150, 200 และ 250 รอบต่อนาที พบว่าที่ขนาดความเร็วรอบที่เหมาะสม คือ 200 รอบต่อนาที และทำการแปรผันน้ำหนักของซิลิกา-อะลูมินาที่ใช้แล้วที่ 1, 2, 3, 4 แบะ 5 กรัม โดยใช้เวลาในการสกัด 10 นาที และขนาดความเร็วรอบที่เหมาะสม 200 รอบต่อนาที ผลการสกัด พบว่า ซิลิกา-อะลูมินา 5 กรัม สามารถสกัดสารแอนทราควิโนนได้สูงสุด จากนั้นทำการศึกษาหาประสิทธิภาพการสกัดกลับของตัวทำลาย พบว่าตัวทำละลายที่ใช้แล้วให้ประสิทธิภาพสูงสุดในการสกัดครั้งแรกen
dc.description.abstractalternativeThis research investigated the extraction of Anthraquinone from spent silica-alumina using ethanol methanol and isopropanol. The result show that the extract solution has absorbance value at 256 nm performs by UV-Spectrophotometer. The Anthraquinone was extracted at a certain interval time 10, 20, 30, 40 50 and 60 minute. The result indicated that at 10 minutes is the appropriate value because of the equal efficiency of the extraction at the minimum time. The extraction was performed by varying the frequency at 100, 150, 200 and 250 round per minute. The result indicated that the optimum was found at 200 rounds per minute. The experiment was performed by varying the amount of spent silica-alumina at 1, 2, 3, 4 and 5 g.. The results indicated that the amount of spent silica-alumina at 5 g. gives the highest efficiency of extraction. This research also carries out the performance of extraction by reuse the solvent for extraction. The results indicated that the highest efficiency was performed at the first extraction processen
dc.format.extent1350302 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเอทานอลen
dc.subjectเมทานอลen
dc.subjectไอโซโพรพานอลen
dc.subjectแอนทราควิโนนen
dc.subjectซิลิกา-อะลูมินาen
dc.titleการสกัดแอนทราควิโนนจากซิลิกา-อะลูมินาที่ใช้แล้วโดยแอทานอล เมทานอล และ ไอโซโพรพานอลen
dc.title.alternativeExtraction of anthraquinone from spent silica-alumina using ethanol methanol and isopropanolen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPetchporn.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chanidapa.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.