Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37586
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีย์ พุ่มรินทร์-
dc.contributor.authorโกศล ปัญญาโสภณเลิศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-12-21T02:54:25Z-
dc.date.available2013-12-21T02:54:25Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37586-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอการประยุกต์ใช้เทคนิคการขยายรายละเอียดภาพสำหรับแฟ้มภาพวีดิทัศน์จากระบบเฝ้าระวัง โดยออกแบบเป็นโปรแกรมในภาษา C++ สำหรับขยายรายละเอียดภาพในบริเวณที่สนใจ โดยใช้การซ้อนทับภาพโดยกำหนดตำแหน่งแบบอิงลักษณะเด่นร่วมกับการแปลงภาพแบบทัศนมิติ และสามารถซ้อนทับภาพโดยกำหนดตำแหน่งอัตโนมัติได้โดยใช้ระเบียบวิธีคัดกรองแรนแซค ในส่วนของการแก้สมการแบบจำลองของปัญหาได้เลือกใช้ระเบียบวิธีเชิงกำหนดแบบคุมค่า และคำนวณโดยระเบียบวิธีทำซ้ำแบบลาดลงชันที่สุด จากผลการทดลองพบว่าภาพที่ผ่านการขยายรายละเอียดโดยวิธีการที่นำเสนอมีอัตราส่วนสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนสูงสุด สูงกว่าภาพที่ผ่านการขยายรายละเอียดด้วยวิธีไบคิวบิคโดยเฉลี่ย 1.8 เดซิเบล และใช้เวลาประมวลผลประมาณ 10-12 วินาทีต่อ 1 ภาพที่ขนาด 320x240 จุดภาพ โดยภาพลัพธ์ที่ได้มีรายละเอียด ความคมชัด และความเปรียบต่างดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งจากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมที่นำเสนอสามารถปรับปรุงรายละเอียดของภาพวีดิทัศน์ได้ใกล้เคียงกับภาพความละเอียดสูงต้นแบบมากกว่าวิธีที่ใช้ภาพความละเอียดต่ำเพียงภาพเดียว โดยไม่จำเป็นต้องปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ในระบบบันทึกภาพen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis proposes the technique of region-of-interest image Superresolution for image sequences recorded by surveillance video camera, presented in form of C++ software. Registration step is feature-based with image perspective transformation, processes automatically using RANSAC classification method. To solve the problem model equation, regularized deterministic method is chosen and Steepest Descent iterative method is used for calculation. The experiment results show the advantage of proposed method over conventional ones such as Bicubic methods with averagely 1.8 dB higher PSNR and processing time is 10-12 seconds approximately for a 320x240-pixel image. The result images show better details, contrast and higher sharpness obviously. According to experimental results, video image resolution improvement using proposed method is evident without any modification of system equipments.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1379-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบันทึกวีดิทัศน์en_US
dc.subjectภาพดิจิตอลen_US
dc.subjectการประมวลผลภาพ--เทคนิคดิจิตอลen_US
dc.subjectVideo recordingen_US
dc.subjectDigital imagesen_US
dc.subjectImage processing--Digital techniqueen_US
dc.titleการประยุกต์ใช้เทคนิคการขยายรายละเอียดบริเวณที่สนใจสำหรับระบบวีดิทัศน์เฝ้าระวังen_US
dc.title.alternativeApplication of region-of-interest superresolution technique for video surveillance systemen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuree.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1379-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kosol_pu.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.