Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37594
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโอฬาร กิตติธีรพรชัย-
dc.contributor.authorวัฒนา แย้มประยูรสวัสดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-12-25T07:43:06Z-
dc.date.available2013-12-25T07:43:06Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37594-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractปัจจุบันผู้ผลิตจำนวนมากนิยมส่งสินค้าไปยังลูกค้าผ่านผู้ให้บริการขนส่ง ปัญหาสำคัญประการหนึ่งของผู้ให้บริการขนส่งคือการจัดการปริมาณรถบรรทุกให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้ผลิตสินค้าเนื่องจากปริมาณรถบรรทุกที่ผู้ผลิตต้องการในแต่ละวันมีความแปรปรวนสูงและขาดการวางแผนขนส่งที่ประสิทธิภาพ ดังนั้นผู้วิจัยจึงศึกษาการวางแผนการขนส่งในระยะยาวของผู้ให้บริการขนส่งโดยให้ความสำคัญกับการพิจาณาค่าใช้จ่ายในการจ้างผู้รับเหมาภายนอกหากเตรียมรถบรรทุกจำนวนน้อยเกินไปเปรียบเทียบกับความสูญเสียโอกาสในการหารายได้จากลูกค้าช่องทางอื่นๆ หากมีการเตรียมจำนวนรถบรรทุกมากเกินไป โดยพบว่าการตัดสินใจดังกล่าวมีลักษณะคล้ายคลึงกับปัญหาการจัดการพัสดุคงคลังแบบความต้องการไม่แน่นอนหรือ ปัญหา Newsvendor ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์เพี่อสร้างกรอบการทำสัญญาระหว่างผู้ผลิตและผู้ให้บริการขนส่งโดยวิเคราะห์หาปริมาณที่เหมาะสมในการเตรียมรถบรรทุกสำหรับการจองเพื่อให้คู่สัญญาทั้งสองมีความร่วมมือในการวางแผนขนส่งและมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างเป็นระบบ จากผลการศึกษาข้อมูลของบริษัทผลิตสินค้าเครื่องดื่ม และบริษัทผู้ให้บริการขนส่งขนาดใหญ่รายหนึ่งพบว่า ผู้ให้บริการขนส่งจะสามารถหาปริมาณที่เหมาะสมในการเตรียมรถบรรทุกสำหรับการจองตามสัญญาโดยเพิ่มความยืดหยุ่นของสัญญาให้ผู้ผลิตอยู่ที่ ±5% จะส่งผลให้กำไรของผู้ให้บริการขนส่งเพิ่มขึ้นได้อย่างมีนัยสำคัญen_US
dc.description.abstractalternativeManufacturers have increasingly employed carriers to deliver products to their customers. One important issue of such practice is high variability in truck-capacity resulted from the fluctuation in a number of trucks requested by manufacturers and the inefficient delivery planning between both parties. We modeled a decision on a number of truck requested by a manufacturer as an economic trade-off between hiring costs with insufficient trucks and opportunities to utilize reserved trucks for multi-channel customers. This trade-off is similar to the decision in Newsvendor problem, an inventory control model with uncertainty demands. Newsvendor results can be used to form a contractual framework between a manufacturer and a carrier that enhances collaboration in delivery planning and information exchange. To illustrate this concept, we analyzed delivery planning between a beverage manufacturer and a large carrier and embedded data into our model. The carrier could solve the model to determine optimal solution and adjust contract’s flexibilities are ±5% as a result the model suggests that the expected profit could be increased.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1160-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการขนส่งen_US
dc.subjectการขนส่งสินค้าen_US
dc.subjectการขนส่งด้วยรถบรรทุกen_US
dc.subjectTransportationen_US
dc.subjectCommercial products -- Transportationen_US
dc.subjectTruckingen_US
dc.titleแบบจำลองการจัดการปริมาณรถบรรทุกสำหรับความต้องการหลายช่องทางen_US
dc.title.alternativeTruck capacity managing model for multi-channel demandsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorOran.K@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1160-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wattana_ya.pdf3.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.