Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37620
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorแนบบุญ หุนเจริญ-
dc.contributor.authorธนภัทร์ โชติพรหม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-12-31T15:31:07Z-
dc.date.available2013-12-31T15:31:07Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37620-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractศึกษาผลจากการเหนี่ยวนำร่วมระหว่างวงจรที่มีต่อความแม่นยำการระบุตำแหน่งผิดพร่องในระบบส่ง โดยแบ่งการทดสอบออกเป็น 2 ประเภทคือ ประเภทที่ใช้ข้อมูลปลายเดียวและประเภทที่ใช้ข้อมูลสองปลาย ทดสอบโดยใช้ข้อมูลจากระบบจำลองที่แปรค่าประเภทความผิดพร่อง ตำแหน่งที่เกิดความผิดพร่อง และอิมพีแดนซ์ความผิดพร่องโดยใช้โปรแกรม ATP–EMTP (Alternative transient program - Electromagnetic transient program) และใช้ข้อมูลจากระบบส่งจริง การวิเคราะห์ผลใช้วิธีเปรียบเทียบระยะความผิดพร่องที่คำนวณได้กับระยะความผิดพร่องจริง เพื่อศึกษาความคลาดเคลื่อนของการระบุตำแหน่งผิดพร่อง โดยใช้ขั้นตอนวิธีมาตรฐานและขั้นตอนวิธีที่คิดผลของการเหนี่ยวนำร่วมระหว่างวงจร ผลการศึกษาพบว่า การคิดผลการเหนี่ยวนำร่วมระหว่างวงจรจะทำให้การระบุตำแหน่งผิดพร่องแบบสองปลายแม่นยำขึ้นทุกประเภทความผิดพร่อง ส่วนการระบุตำแหน่งผิดพร่องแบบปลายเดียวจะแม่นยำขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเฉพาะกรณีที่เป็นความผิดพร่องแบบ 1 สายลงดิน ดังนั้น ขั้นตอนวิธีที่ใช้ในการคำนวณหาตำแหน่งผิดพร่องควรคำนึงถึงรูปแบบของสายส่ง ประเภทความผิดพร่อง ข้อมูลสายส่ง และข้อมูลที่ได้จากการวัด นอกจากนี้ ในวิทยานิพนธ์ได้นำเสนอวิธีการคำนวณหาพารามิเตอร์ของสายส่ง อิมพีแดนซ์เหนี่ยวนำร่วมระหว่างวงจรลำดับศูนย์ โดยใช้ข้อมูลกระแสและแรงดันขณะเกิดความผิดพร่อง โดยการใช้สมมติฐานว่าสายส่งทั้งสองวงจรสมมาตรกันen_US
dc.description.abstractalternativeTo study impacts of mutual coupling between circuits on line fault location in a transmission system. The study is separated into one-terminal and two-terminal fault locations. Test with simulated data and field measurement data are performed, employing ATP-EMTP (Alternative Transient Program - Electromagnetic Transient Program) for the former case by varying fault types, fault locations and fault impedances. The improved accuracy for single line to ground faults in case of the one-terminal algorithms and the improved accuracy for all fault types in case of the two-terminal algorithms have been verified by comparing to those obtained from the standard one-terminal algorithm and the standard two-terminal fault location algorithm, respectively. Hence, the fault algorithms have to consider line configuration, fault type, line data and measurement data. Additionally, this thesis proposes a method for verifying line parameters and zero sequence mutual impedance using during fault voltages and currents, assuming that the double circuits line are symmetric.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1173-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectตำแหน่งฟอลต์en_US
dc.subjectไฟฟ้าแรงสูงen_US
dc.subjectElectric fault locationen_US
dc.subjectHigh voltagesen_US
dc.titleการระบุตำแหน่งความผิดพร่องบนสายส่งโดยพิจารณาผลของการเหนี่ยวนำร่วมระหว่างวงจรบนโครงข่ายระบบส่งen_US
dc.title.alternativeLine fault location considering mutual coupling between circuits on transmission networksen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNaebboon.H@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1173-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
thanapat_ch.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.