Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37640
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริจันทร์ ทองประเสริฐ-
dc.contributor.authorณัฐวุฒิ เพิ่มขุนทด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2014-01-05T02:00:20Z-
dc.date.available2014-01-05T02:00:20Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37640-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหามาตรการการปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานในกระบวนการผลิตสำหรับอุตสาหกรรมแก้วและกระจก เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีความเข้มพลังงานสูงและยังไม่มีหน่วยงานใดที่เข้ามาส่งเสริมหรือมีมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานอย่างเป็นรูปธรรม ก่อนการหามาตรการจำเป็นต้องรู้เสียก่อนว่าประสิทธิภาพพลังงานของอุตสาหกรรมเป็นอย่างไร งานวิจัยนี้จึงใช้ค่าดัชนีการบริโภคพลังงานจำเพาะ (Specific Energy Consumption ; SEC) ซึ่งเป็นค่าชี้วัดการบริโภคพลังงานในกระบวนการผลิตมาประเมินประสิทธิภาพพลังงานของอุตสาหกรรมแก้วและกระจก ได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตกระจก อุตสาหกรรมขวดแก้ว อุตสาหกรรมเครื่องแก้ว และอุตสาหกรรมฉนวนใยแก้ว โดยดำเนินการตรวจวัดการบริโภคพลังงานไฟฟ้า เชื้อเพลิงและรวบรวมข้อมูลด้านผลผลิต จากนั้นนำข้อมูลมาหาค่า SEC ของแต่ละกระบวนการผลิต แล้วนำมาเทียบเคียงพลังงานกับค่า SEC ที่มีประสิทธิภาพพลังงานเหมาะสม ผลจากการเทียบเคียงพลังงานทำให้ได้ค่า SEC Benchmarking หรือค่าทีใช้ในการอ้างอิงในการเทียบเคียงพลังงานดังนี้ อุตสาหกรรมกระจกมีค่า SEC เท่ากับ 8.55 GJ/Ton (ที่ 20% Cullet, 600 ton/Day) อุตสาหกรรมขวดแก้วมีค่า SEC เท่ากับ 6.48 GJ/Ton (ที่ 70% Cullet, 300 Ton/Day) อุตสาหกรรมเครื่องแก้วมีค่า SEC เท่ากับ GJ/Ton (ที่ 0% Cullet, 100 Ton/Day) และอุตสาหกรรมฉนวนใยแก้วมีค่า SEC เท่ากับ 14.38 GJ/Ton (ที่ 100% Culet, 50 Ton/Day) ซึ่งพบว่าค่า SEC ของอุตสาหกรรมแก้วและกระจกในประเทศไทยมีค่าสูงกว่า SEC Benchmarking แสดงว่าอุตสาหกรรมแก้วและกระจกของประเทศยังสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานเพื่อลดค่า SEC ให้ต่ำลงได้ โดยมาตรการที่นำเสนอคือ มาตรการเกี่ยวกับระบบอัดอากาศสามารถลพการบริโภคไฟฟ้าในระบบอัดอากาศลดลงร้อยละ 10 - 20 มาตรการการนำความร้อนทิ้งกลับมาใช้ที่ Absorption water Chiller เพื่อใช้ในระบบปรับอากาศสามารถลดการบริโภคพลังงานไฟฟ้ารวมทั้งโรงงานลดลงร้อยละ 1 และมาตรการการนำความร้อนทิ้งกลับมาใช้ที่ Absorption water chiller เพื่อลดอุณหภูมิอากาศก่อนเข้าเครื่องอัดอากาศสามารถลดการบริโภคพลังงานไฟฟ้าลงได้ 5.5 - 12.32 kWh/tonen_US
dc.description.abstractalternativeThe main purpose of this thesis, is to find the measures in improving the energy efficiency for the glass industry. In finding the measures, the Specific Energy Consumption or SEC was used in measuring the energy efficiency for the glass production i.e. the flat glass industry, the press and blow glass industries, the container glass industry, and the fiberglass industry. The methodology were done by measuring the energy and fuel consumption corresponding to the production information. Then the SEC values were calculated and taken to compare with the efficiency SEC The result from the energy benchmarking provides the value so called "SEC Benchmarking" i.e. flat glass industry has SEC 8.55 GJ/Ton (20% Cullet, 600 Ton/Day), the container glass industry has SEC 6.48 GJ/Ton (70% Cullet, 300 Ton/Day), the press and blow glass industry has SEC 10.89 GJ/Ton (0% Cullet, 100 Ton/Day), and the fiberglass industry has SEC 14.38 GJ/Ton (100% Cullet, 50 Ton/Day). The result of SEC Benchmarking found that the energy efficiency of the glass industry in Thailand can be improved. The proposed measures are the improvement air compressor system which is expected to reduce the electric energy consumption about 10-20% of air compressor system, waste heat recovery to generate cool air through absorption chiller which is expected to reduce electric energy consumption over plant about 1% and waste heat recovery to lower inlet air temperature of air compressor system which is expected to reduce electric energy consumption over all of air compressor system about 5.5-12.32 kWh/ton.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.779-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectประสิทธิภาพทางอุตสาหกรรมen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมแก้ว -- การใช้พลังงานen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมกระจก -- การใช้พลังงานen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมแก้ว -- การอนุรักษ์พลังงานen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมกระจก -- การอนุรักษ์พลังงานen_US
dc.subjectIndustrial efficiencyen_US
dc.subjectGlass manufacture -- Energy consumptionen_US
dc.subjectGlass manufacture -- Energy conservationen_US
dc.titleมาตรการการปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานในกระบวนการผลิตสำหรับอุตสาหกรรมแก้วและกระจกen_US
dc.title.alternativeProduction energy efficiency improvement measures for glass industryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSirichan.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.779-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nattawut_pe.pdf20.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.