Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3768
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวดี บุญลือ-
dc.contributor.authorชนานันท์ คงธนาฤทธิ์, 2514--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialกรุงเทพมหานคร-
dc.date.accessioned2007-07-25T10:38:05Z-
dc.date.available2007-07-25T10:38:05Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741311885-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3768-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่ตัดต่อพันธุกรรม (GMOs) กับการยอมรับการบริโภคสิ่งมีชีวิตที่ตัดต่อพันธุกรรม (GMOs) ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกาา คือ ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 404 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย t-test One-Way ANOVA ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ผลการวิจัยพบว่า 1. ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพและรายได้แตกต่างกัน มีการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่ตัดต่อพันธุกรรม (GMOs) แตกต่างกัน 2. ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพและรายได้แตกต่างกัน มีความรู้ ทัศนคติ และการยอมรับการบริโภคสิ่งมีชีวิตที่ตัดต่อพันธุกรรม (GMOs) แตกต่างกัน 3. การเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่ตัดต่อพันธุกรรม (GMOs) มีความสัมพันธ์กับความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่ตัดต่อพันธุกรรม (GMOs) 4. การเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งที่ชีวิตที่ตัดต่อพันธุกรรม (GMOs) ไม่มีความสัมพันธ์ทัศนคติเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่ตัดต่อพันธุกรรม (GMOs) 5. การเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่ตัดต่อพันธุกรรม (GMOs) มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการบริโภคสิ่งมีชีวิตที่ตัดต่อพันธุกรรม (GMOs) 6. ตัวแปรที่สามารถอธิบายการยอมรับการบริโภคสิ่งมีชีวิตที่ตัดต่อพันธุกรรม (GMOs) ได้แก่ทัศนคติ และอายุen
dc.description.abstractalternativeTo find out relations of media exposure to knowledge, attitudes and acceptance of Genetically Modified Organisms (GMOs) consumption among Bangkok people. A group of 404 samples was opinion surveyed and the analysis was done through SPSS program. Results of the research are as follows: 1. People with different sex, ages, levels of education, occupations and incomes are different in media exposure concerning GMOs. 2. People who differ in sex, ages, levels of education, occupations and incomes have different knowledge, attitudes and acceptance of GMO consumption. 3. Media exposure is related to GMOs knowledge. 4. Media exposure is not related to GMOs attitudes. 5. Media exposure is related to acceptance of GMOs consumption. 6. Attitude and age are two variables best explain acceptance of GMOs consumptionen
dc.format.extent1637624 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.296-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเปิดรับข่าวสารen
dc.subjectการยอมรับนวัตกรรมen
dc.subjectการตัดแต่งพันธุกรรมen
dc.titleการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และการยอมรับการบริโภคสิ่งมีชีวิตที่ตัดต่อพันธุกรรม (GMOs) ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeMedia exposure, knowledge, attitude and acceptance of GMOs consumption among Bangkok peopleen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorTanawadee.B@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.296-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chananun.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.