Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3821
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชยากริต ศิริอุปถัมภ์-
dc.contributor.authorชีวภัทร์ พรพิมลมิตร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-08-15T10:10:11Z-
dc.date.available2007-08-15T10:10:11Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741734409-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3821-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการทดสอบหาคอมแพทิบิไลเซอร์ที่เหมาะสมของเทอร์โมพลาสติกอิลาสโตเมอร์ระหว่างยางธรรมชาติ-โพลีเอทีลีนความหนาแน่นต่ำหลังการฉายรังสีแกมมาที่ปริมาณต่างๆ โดยใช้คอมแพทิบิไลเซอร์สามชนิดได้แก่ ยางธรรมชาติโมเลกุลต่ำ ฟทาลิกแอนไฮไดรด์และมาเลอิกแอนไฮไดรด์กราฟต์โพลีเอทีลีน จากการทดสอบการเข้ากันได้ของวัฏภาคยางและโพลีเอทีลีนความหนาแน่นต่ำโดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเลกตรอน พบว่าการใช้คอมแพทิบิไลเซอร์ทำให้วัฏภาคมีขนาดเล็กลงและประสานกันได้ดีและยืนยันผลความเข้ากันได้ด้วยการหาอุณหภูมิการเป็นแก้วเพียงค่าเดียว ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเมื่อใช้คอมแพทิบิไลเซอร์ชนิดต่างๆ สามารถช่วยผสมให้ ยางธรรมชาติกับโพลีเอทีลีนความหนาแน่นต่ำเข้ากันได้ จากผลการทดสอบคุณสมบัติเชิงกลจาก ความต้านทานแรงดึง ความต้านทานต่อการยืดจนขาด ค่าโมดูลัส 100% และความแข็ง พบว่าการใช้ฟทาลิกแอนไฮไดรด์ ปริมาณร้อยละ 1.0ในสัดส่วนของยางธรรมชาติกับโพลีเอทีลีนความหนาแน่นต่ำ 60:40 หลังการครอสลิงค์ด้วยรังสีแกมมาปริมาณ 120 กิโลเกรย์ เป็นสัดส่วนการผสมและปริมาณรังสีที่เหมาะสมที่สุด สำหรับปริมาณคอมแพทิบิไลเซอร์ที่เหมาะสมในสัดส่วนอื่นจะแสดงค่าของสัดส่วนการบวมในตัวทำละลายและดัชนีความเข้มของออกซิเจนสูงสุดที่สามารถลุกติดไฟได้ พร้อมทั้งหาสัดส่วนความเป็นเจลเพื่อยืนยันผลการครอสลิงค์ด้วยรังสีแกมมาในแต่ละเงื่อนไขen
dc.description.abstractalternativeA study of a suitable compatibilizer for natural rubber (NR) and low density polyethylene (LDPE) was conducted. Compatibilizers are selected from: liquid natural rubber (LNR), phthalic anhydride (PA) and maleic anhydride grafted PE (MA-g-PE). The NR/LDPE blend at different concentration of the stabilizers so obtained were investigated by their photomicrographs using a scanning electron microscope (SEM) and their glass transition temperatures (T) by a differential scanning calorimetry (DSC). It was found that PA exhibited the best compatibilizer at a concentration of 1%, in 60/40 NR/LDPE after radiation crosslinked at 120 kGy. Mechanical properties, gel fractions, limiting oxygen index of the blends at various ratio with those mentioned compatibilizers at different concentrations were also determined to confirm the obtained resultsen
dc.format.extent2032205 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1465-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโพลิเมอร์ผสมen
dc.subjectโพลิเอทิลีนen
dc.titleการเลือกใช้คอมแพทิบิไลเซอร์ที่เหมาะสมสำหรับยางธรรมชาติ-โพลีเอทีลีนเบล็นด์ซึ่งครอสลิงค์โดยการฉายรังสีแกมมาen
dc.title.alternativeSelection of a suitable compatibilizer for natural rubber-polyethylene blend crosslinked by gamma irradiationen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChyagrit.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1465-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chevapat.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.