Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3840
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริชัย กาญจนวาสี-
dc.contributor.advisorสุชาดา บวรกิติวงศ์-
dc.contributor.authorสมถวิล วิจิตรวรรณา, 2499--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-08-24T02:47:37Z-
dc.date.available2007-08-24T02:47:37Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741310366-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3840-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractเปรียบเทียบประสิทธิภาพของโมเดลการวัดการเปลี่ยนแปลงระยะยาว ชนิดตัวแปรเดี่ยวและชนิดตัวแปรพหุ ระหว่างโมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝง โมเดลพหุระดับ และโมเดลกึ่งซิมเพลกซ์ที่มีตัวแปรแฝงพัฒนาการ ด้วยดัชนีความสอดคล้องของโมเดลกับข้อมูล คือ สถิติไค-สแควร์ ดัชนี GFI และ CFI ดัชนีรากกำลังสองเฉลี่ยของเศษเหลือ (RMR) และดัชนี้ความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) การวิจัยครั้งนี้ได้นำเสนอโมเดลการวัดการเปลี่ยนแปลงโมเดลใหม่ คือ โมเดลกึ่งซิมเพลกซ์ที่มีตัวแปรแฝงพัฒนาการ ที่จะสามารถอธิบายคะแนนเริ่มต้นและอัตราพัฒนาการที่แท้จริง ข้อมูลการวิจัยครั้งนี้ได้จากประชากรนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 469 คน ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสมุทรสงคราม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2542 โดยวัดนักเรียนคนเดิม 5 ครั้งในช่วงเวลาต่างกัน เครื่องมือที่สร้างขึ้นในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบคู่ขนาดวิชาคณิตศาสตร์ 5 ฉบับที่วัด 2 คุณลักษณะ คือ การคิดคำนวณและการแก้โจทย์ปัญหา กระบวนการพัฒนาแบบสอบที่สำคัญ คือ การสร้างลักษณะเฉพาะของข้อสอบและการปรับเทียบคะแนน ระหว่าง บางฉบับที่ไม่เป็นคู่ขนาน การวิเคราะห์ข้อมูลโมเดลพหุระดับ ใช้โปรแกรม HLM ส่วนโมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝง และโมเดลกึ่งซิมเพลกซ์ที่มีตัวแปรแฝงพัฒนาการ ใช้โปรแกรมการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม EQS ผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่า โมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝงเป็นโมเดล ที่ใช้อธิบายการวัดการเปลี่ยนแปลงระยะยาวที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งชนิดตัวแปรเดี่ยวและตัวแปรพหุ รองลงมาคือ โมเดลกึ่งซิมเพลกซ์ที่มีตัวแปรแฝงพัฒนาการและโมเดลพหุระดับen
dc.description.abstractalternativeTo compare the efficiency of latent growth curve models, multilevel models and quasi-simplex models in measuring univariate longitudinal change. And to compare the efficiency of latent growth curve models, multilevel model and quasi-simplex models in measuring multivariate longitudinal change. The new quasi-simplex models with latent growth developed in this research in order to explain true initial and change parameters. The model fit indices were Chi-square, GFI, CFI, Root mean squared residual (RMR) and Root mean squared error of approximation (RMSEA). The longitudinal 5 wave data collected from the population of 469 Mathayom Suksa 2 students in Samusongkram Provice in the 1998 academic year. The research instruments were the 5 paralleled Mathematics Tests, each test consisting 2 traits Calculation and Problem Solving, the main processes of developing tests were constructing item-specification and equating some empirical nonparallel tests. Multilevel models employ HLM software, latent growth curve modelsand quasi-simplex models with latent growth employ covariance analysis EQS software. Results indicated that latent growth curve models was the best efficiency in univariate and multivariate longitudinal change. The new quasi-simplex models with latent growth was the second efficiency and the last was multilevel modelsen
dc.format.extent42779155 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการวัดผลทางการศึกษาen
dc.subjectการเปลี่ยนแปลง (จิตวิทยา)en
dc.subjectการวัดทางจิตวิทยาen
dc.subjectการวิเคราะห์ตัวแปรพหุen
dc.titleการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของโมเดลโค้งพัฒนาการ ที่มีตัวแปรแฝง โมเดลพหุระดับ และโมเดลกึ่งซิมเพลกซ์ ในการวัดการเปลี่ยนแปลงระยะยาวชนิดตัวแปรเดี่ยวและตัวแปรพหุen
dc.title.alternativeA comparision of efficiency of latent growth curve, multilevel and quasi-simplex models in measuring univariate and multivariate longitudinal changeen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาเอกen
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSirchai.k@chula.ac.th-
dc.email.advisorSuchada.b@chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somtawin.pdf15.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.