Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3915
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเศรษฐา ปานงาม-
dc.contributor.advisorตะวัน ปภาพจน์-
dc.contributor.authorนุกูล โชตเศรษฐ์, 2514--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-08-29T07:02:48Z-
dc.date.available2007-08-29T07:02:48Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741755732-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3915-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractสำหรับสถาบันการศึกษามีงานต้องทำอยู่เสมอ คือการจัดตารางสอนที่ใช้เวลานานในการจัดด้วยมือแต่ละครั้ง มีงานวิจัยอยู่จำนวนมากที่พยายามแก้ปัญหานี้ แต่งานวิจัยเหล่านี้มุ่งจะที่จะแก้ปัญหาการจัดตารางสอน ที่มีลักษณะเฉพาะของสถาบันการศึกษาหนึ่งเท่านั้น ลักษณะเฉพาะเช่นคาบเวลาสอนไม่เท่ากัน เวลาสอน เวลาหยุดพัก จัดตอนเรียน และอื่นๆ ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมเป็นวิธีหาคำตอบค่าเหมาะสมที่สุด (Optimal solution) ที่มีความง่ายในการปรับให้เข้ากับปัญหา ในงานวิจัยนี้จึงจัดทำโปรแกรมประยุกต์สำหรับจัดตารางสอน โดยนำขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมมาปรังปรุงการเข้ารหัส การไขว้เปลี่ยน การคัดเลือกความหลากหลาย เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพของปัญหา โดยใช้ข้อมูลการจัดตารางสอนของคณะเศรษฐศาสตร์ เป็นต้นเแบบ โปรแกรมประยุกต์นี้สามารถจัดตารางสอนได้โดยอัตโนมัติ มีส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (User interface) เป็นแบบกราฟิก ทำงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเพียงเครื่องเดียว จัดตารางสอนได้โดยไม่มีข้อขัดแย้งกับเงื่อนไขหลักและเงื่อนไขรอง ในการทดลองจัดด้วยจำนวนห้อง 20 ห้อง 400 ชั้นเรียน โปรแกรมสามารถจัดเสร็จได้ในจำนวนรุ่นที่น้อยและเวลาที่น้อย เมื่อเทียบกับการจัดด้วยมือen
dc.description.abstractalternativeThe timetatbling problem comes up every year in educational institutions, which has often been solved by human. There have been a lot of research to solve this problem. The problem usually varies significantly from institution to institution in terms of specific requirements and constraints such as time-slot period, teaching time, break time, sections etc. Many current university timetabling systems are often applied only in the institutions where they were designed. Genetic algorithm is optimization method that is easy to implement, and to optimization problem. This work adopted and modified chromosome representation, crossover and selection of genetic algorithm to develop an automated timetabling program, with information of the Faculty of Economic, Chulalongkorn University, as a prototype. The application is able to work on a stand alone computer, and run on Windows with graphic user interface. It can produce the timetables under hard and soft constraints. The program produces satisfied results within acceptable time and number of generations for 20 rooms and 400 classes problemen
dc.format.extent2204474 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1373-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectตารางสอนen
dc.subjectจีเนติกอัลกอริทึมen
dc.subjectการโปรแกรมเชิงพันธุกรรมen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมจัดตารางสอนโดยใช้ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมen
dc.title.alternativeDevelopment of an automated lecture timetabling program using genetic algorithmsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsetha@cp.eng.chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1373-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nukoon.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.