Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3962
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ | - |
dc.contributor.author | พจนา เทียนธาดา, 2503- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2007-09-03T05:25:05Z | - |
dc.date.available | 2007-09-03T05:25:05Z | - |
dc.date.issued | 2543 | - |
dc.identifier.isbn | 9741306725 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3962 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาสภาพและปัญหาการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น และแนวทางการให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น และการจัดการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา ของโรงเรียนที่ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ในกรุงเทพมหานคร ประชากรคือ ผู้บริหาร กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูผู้สอน และคณะกรรมการโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และแบบสอบถามลักษณะแบบเลือกตอบ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา แจกแจงความถี่ และหาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ระบุว่า ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับและ/หรือสร้างหลักสูตรท้องถิ่น ได้แก่ ผู้ปกครอง ศิษย์เก่า และผู้ทรงคุณวุฒ ลักษณะที่ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมคือ เป็นผู้ให้ข้อมูลพื้นฐานร่วมวิเคราะห์สภาพ ปัญหาและความต้องการของชุมชน และเป็นผู้ให้ความรู้และ/หรือถ่ายทอดประสบการณ์ ในการทำหลักสูตรท้องถิ่นไปใช้ ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ระบุว่า ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในด้านการเตรียมครู การจัดบริการวัสดุหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอน และการประชาสัมพันธ์หลักสูตรท้องถิ่น ชุมชนที่เข้ามามีส่วนร่วมคือ ผู้ปกครอง ศิษย์เก่าและผู้ทรงคุณวุฒิ ลักษณะการมีส่วนร่วมของชุมชนคือ เป็นผู้ให้ข้อมูลพื้นฐาน เป็นผู้ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ในการประเมินผลหลักสูตรท้องถิ่น ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ระบุว่า ชุมชนไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วม เนื่องจากนโยบายของโรงเรียนไม่เอื้อให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม และชุมชนเห็นว่าเป็นหน้าที่ของโรงเรียน ปัญหาในการเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชน ในการปรับและ/หรือสร้างหลักสูตรท้องถิ่น ในการนำหลักสูตรไปใช้ และในการประเมินผลหลักสูตรท้องถิ่น ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ระบุว่า ปัญหาที่พบคือชุมชนไม่ให้ความร่วมมือเท่าที่ควรเนื่องจากมีภารกิจมาก และโรงเรียนกับชุมชนมีเวลาว่างไม่ตรงกัน แนวทางการให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น และการจัดการเรียนการสอน ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่เสนอแนะว่า ชุมชนควรมีบทบาทในการเป็นผู้ให้ข้อมูลพื้นฐาน เป็นแหล่งวิชาการ ร่วมเป็นคณะกรรมการโรงเรียนหรือที่ปรึกษา ร่วมแสดงความคิดเห็นหรือให้ข้อเสนอแนะ และสนับสนุนด้านสิ่งของ วัสดุและ/หรืออุปกรณ์ต่างๆ สำหรับบทบาทของโรงเรียนในการเสริมสร้างความร่วมมือของชุมชน ในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นและการจัดการเรียนการสอน ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่เสนอแนะว่า โรงเรียนควรสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน เปิดโอกาสให้ผู้รู้ในชุมชนมาเป็นวิทยากรให้ความรู้/ถ่ายถอดประสบการณ์ และให้การต้อนรับชุมชนที่เข้ามาร่วมกิจกรรมต่างๆ | en |
dc.description.abstractalternative | To study the state and problems of community participation in local curriculum development, and the guidelines for the community participation in local curriculum development and teaching-learning arrangement at the elementary education level in schools accreditted with the educational quality standards under the Office of Private Education Commissionin Bangkok Metropolis. The respondents were school administrators, teachers and school committees. The research instruments were structured interview and questionnaire forms. Data were statistically analyzed by means of content analysis, frequency and percentage. The research results revealed that most respondents stated that the community members who participated in the curriculum adaptation and development in relevant to local needs were parents, alumni and educational experts. The community members participated by providing the basic information, analyzing the state, problems and needs of the community, providing knowledge and/or experiences. In implementinglocal curriculum, most respondents stated that the community members participated in the teacher preparation, the arrangement of curriculum materials and teaching media, and public relations of local curriculum. Those who participated were parents, alumni and educational experts. They provided basic information and helped schools in cooperating with other related agencies. In the local curriculum evaluation, most respondents stated that the community members did not participate because school policy did not promote community participation; and the community members deemed it was the duty of the schools to evaluate the curriculum. For problem of the community participation in the curriculum adaptation and development, the local curriculum implementation and the local curriculum evaluation, it was found that there were the community members did not provide sufficient cooperation because they were busy; schools and community did not have the spare time matched each other. Regarding the guidelines for the community to participate in local curriculum development and teaching-learning arrangement, most respondents suggested that the community members should have the roles in providing the basic information and being the academic resources. They should take part in school committees or school consultants, express their opinions or suggestions, and support the teaching-learning materials. For the roles of schools in promoting the community participation, most respondents suggested that the schools should have the good relationship with the community members; provide the opportunity for local experts to be the instructors, and welcome the community members to participate the school activities | en |
dc.format.extent | 2243129 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2000.434 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การวางแผนหลักสูตร | en |
dc.subject | การประเมินหลักสูตร | en |
dc.subject | หลักสูตรท้องถิ่น | en |
dc.subject | การศึกษา -- การมีส่วนร่วมของประชาชน | en |
dc.title | การศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ในระดับประถมศึกษาของโรงเรียน ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ในกรุงเทพมหานคร | en |
dc.title.alternative | A study of the community participation in local curriculum development at the elementary education level in schools accreditted with the educational quality standards under the Office of Private Education Commission in Bangkok Metropolis | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | นิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2000.434 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Potjana.pdf | 1.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.