Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4012
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเชาว์ เนตรประเสริฐ-
dc.contributor.authorทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-09-07T10:02:36Z-
dc.date.available2007-09-07T10:02:36Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741309368-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4012-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractศึกษาสภาพ ปัญหาและความต้องการสื่อการสอนของครูผู้สอน ในศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เพื่อนำเสนอรูปแบบศูนย์วิทยบริการ สำหรับศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ครูผู้สอน จำนวน 300 ท่าน จาก 151 ศูนย์ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 28 ท่าน จาก 3 สาขา ได้แก่ นักเทคโนโลยีการศึกษา 20 ท่าน พระภิกษุ 5 ท่าน และเจ้าหน้าที่จากกรมการศาสนา 3 ท่าน เก็บข้อมูลโดยเทคนิคเดลฟาย จำนวน 3 รอบ และให้ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่านรับรองรูปแบบที่ได้ ผลการวิจัยพบว่า ด้านสภาพการใช้สื่อการสอนของครูผู้สอนมีในระดับน้อย สื่อการสอนที่ใช้ส่วนใหญ่ได้แก่เอกสารตำราและหนังสืออ่านประกอบ ภาพถ่าย รูปภาพ วิดีทัศน์หรือเทปโทรทัศน์ กระดานดำ เครื่องบันทึกเสียง ด้านปัญหาของครูผู้สอนพบว่า ครูผู้สอนขาดความรู้และทักษะในการผลิต การใช้และการนำเสนอสื่อการสอน สื่อการสอนมีไม่เพียงพอต่อความต้องการ ขาดงบประมาณในการจัดซื้อ และสื่อการสอนชำรุดมีอายุการใช้งานไม่นาน ด้านของสถานที่พบว่า สภาพห้องเรียนไม่เหมาะสมกับการใช้สื่อการสอน เช่น ปัญหาเรื่องกระแสไฟฟ้า และสิ่งอำนวยความสะดวก ขาดผู้เชี่ยวชาญในการให้ความรู้ ฝึกอบรมการผลิตสื่อการสอน และไม่ทราบข่าวสารด้านสื่อการสอน ด้านความต้องการสื่อการสอนพบว่า ครูผู้สอนมีความต้องการสื่อการสอนทุกประเภทในระดับมาก โดยเฉพาะสื่อที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาที่สอน และมีเนื้อหาทางพระพุทธศาสนา โดยสื่อการสอนที่ต้องการมากที่สุด ได้แก่ เอกสารตำราและหนังสือที่ได้รับรางวัล เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ เครื่องเล่นวิดีทัศน์ สื่อมัลติมีเดีย นอกจากนั้นสื่อการสอนด้านกิจกรรมและวิธีการพบว่า ครูผู้สอนต้องการใช้การฝึกปฏิบัติ การศึกษานอกสถานที่ และการสาธิตประกอบการสอน การนำเสนอรูปแบบศูนย์วิทยบริการสำหรับ ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ จากผู้เชี่ยวชาญสรุปรูปแบบของศูนย์ที่ได้ 17 ประเด็นดังนี้ ลักษณะของศูนย์ โครงสร้างองค์กรของศูนย์ ภาระหน้าที่ของศูนย์ บุคลากรที่ดำเนินงานของศูนย์ การบริหารงานของศูนย์ สถานที่ตั้งของศูนย์ การจัดพื้นที่ใช้สอยของศูนย์ ประเภทของสื่อการสอนที่ให้บริการของศูนย์ การจัดบริการของศูนย์ แหล่งงบประมาณที่ใช้ในการดำเนินงานของศูนย์ วิธีการคัดเลือก และจัดหาวัสดุอุปกรณ์และสื่อการสอนของศูนย์ วิธีการประเมินวัสดุอุปกรณ์และสื่อการสอนของศูนย์ การจัดศูนย์ในรูปแบบของ Self-learning center วิธีการและเทคนิคการประชาสัมพันธ์ วิธีการประสานความร่วมมือระหว่างศูนย์กับสถาบันและแห่งอื่นๆ, เวลาเปิดปิดที่เหมาะสมของศูนย์วิทยบริการ และพันธกิจของศูนย์วิทยบริการ การประเมินรูปแบบศูนย์วิทยบริการสำหรับศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน พบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินรูปแบบศูนย์วิทยบริการที่ได้ในระดับ "ดี" และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงen
dc.description.abstractalternativeTo survey the state, problem and needs instructional media from teachers in Buddhist Sunday Educational Centers and to proposed model of learning resource center for Buddhist Sunday Educational Centers. Subject were 300 teachers from 151 centers and 33 specialists from 3 group : audio-visual communications (20), Buddhist monk (5) and government official from Department of Religisus Affairs (3). The proposed model used Delphi Technique 3 time and 5 advisor evaluate the model. 1. The state of media : teacher used media in low level. The instructional media most utilized were document, textbook, photo, picture, video, board and tape recorder. 2. The problem of media : teachers were problem skill to product, used and present media, needy media, budget, media didn't used, problem for specialist and didn't know news media. 3. Needs media : teacher needs all media in high level especially media for course and Buddhist that's document, textbook, computer, television, video, multimedia and activity were practice, outdoor and demonstration. 4. The final consensus could be summarizing as a model of this research from 17 issues for Learning Resource Center (LRC). They were : the form of learning resource center, the organizations, the role, the personal, the administration, the place, the space, the type of instructional media for service, the services, the budget, the choice in selecting and management in providing materials, equipments and instructional media, the evaluation of materials, equipments and instructional media, the proposed model of learning resource center to self-learning center, the method and technique of public relations, the method of control and collaborate between LRC and an institute and other learning resource center, the appropriate opening time and the utility of Learning Resource Center. The expert evaluate this model were "Good" and model that it could be successfully used.en
dc.format.extent2828270 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectศูนย์วิทยบริการen
dc.subjectศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์en
dc.subjectพุทธศาสนา -- การศึกษาและการสอนen
dc.subjectโรงเรียนสอนพุทธศาสนาวันอาทิตย์en
dc.titleการนำเสนอรูปแบบศูนย์วิทยบริการ สำหรับศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์en
dc.title.alternativeA proposed model of learning resource center for Buddhist sunday educational centersen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSomchaw.n@chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Taweewat.pdf2.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.