Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40279
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชาญวิทย์ โฆษิตานนท์-
dc.contributor.advisorพงศ์ศักดิ์ หนูพันธ์-
dc.contributor.authorสุนทรี อยู่สถาน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2014-03-07T02:20:03Z-
dc.date.available2014-03-07T02:20:03Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/40279-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาผลของแหล่งคาร์บอนต่อการลดไนโตรเจนในน้ำเสียโดยกระบวนการดีไนตริฟิเคชัน โดยใช้แหล่งคาร์บอน 3 ชนิด ได้แก่ โซเดียมอะซิเตท น้ำเสียจากโรงงานน้ำผลไม้กระป๋อง และน้ำเสียจากกระบวนการไบโอดีเซล มาใช้เป็นตัวให้อิเลคตรอน ในกระบวนการดีไนตริฟิเคชัน โดยเชื้อดีไนตริฟายอิงแบคทีเรียที่นำมาใช้ในการทดลองนั้นนำมาจากโรงบำบัดน้ำเสียและนำมาเลี้ยงโดยใช้น้ำเสียสังเคราะห์ในถังปฏิกิริยาที่อุณหภูมิห้องโดยใช้โซเดียมอะซิเตทเป็นแหล่งคาร์บอนในสภาวะแอนแอโรบิก เชื้อที่เลี้ยงนั้นนำมาใช้ในการทดลองโดยใช้แหล่งคาร์บอนทั้ง 3 ชนิดโดยควบคุมปริมาณตะกอนจุลินทรีย์ (MLVSS) ที่ 2,000 mg/l ซีโอดี 150 mg/l พีเอช 7.5 และที่อุณหภูมิห้อง โดยแหล่งคาร์บอนแต่ละชนิดควบคุมไนเตรทเริ่มต้น ที่ 50 100 150 200 และ 300 mg/l จากผลการทดลองที่ไนเตรทเริ่มต้น 200 mg/l พบว่าโซเดียมอะซิเตทสามารถลดไนเตรทได้ 99.3 % และสามารถลดไนเตรทคิดเป็น 45.26 mg/g MLVSS-h. น้ำเสียจากโรงงานน้ำผลไม้กระป๋องสามารถลดไนเตรทได้ 91.8 % คิดเป็น 37.71 mg/g MLVSS –h. และน้ำเสียจากกระบวนการไบโอดีเซลสามารถไนเตรทได้ 81.76% คิดเป็น 35.02 mg / g MLVSS-h.ดังนั้นน้ำเสียสามารถนำมาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนในกระบวนการดีไนตริฟิเคชันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถึงแม้ว่าจะมีอัตราการลดไนเตรทต่ำกว่าโซเดียมอะซิเตทen_US
dc.description.abstractalternativeThree carbon sources: wastewater from canned fruit juice plant, biodiesel waste and sodium acetate, were used as a carbon source and electron donor for denitrification process. Denitrifying bacteria were taken from a wastewater treatment plant. Sodium acetate as a carbon source in stock culture. Denitrifying stock culture was maintained in the synthetic medium with anaerobic condition at room temperature. In batch experiment, microbial cultures were control at 2,000 mg MLVSS/l and all experiments were conducted at COD 150 mg/l, pH7.5 and 30-35 °C (room temperature). For each carbon source, initial nitrate were controlled at 50, 100, 150, 200 and 300 mg/l. At 200 mg/l sodium acetate, 99.3% nitrate was reduced at 45.26 mg/g MLVSS-h. Using wastewater from canned fruit juice plant nitrate reduction was 91.8 % and the reduction rate was 37. Mg/g MLVSS-h. Nitrate reduction by using biodiesel waste was 81.76% nitrate reduction at 35.02 mg/g MLVSS-h. was obtained. Therefore wastewater can be use as an electron donor for denitrification efficiently though lower both rate and % removal than sodium acetate.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1373-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectดีไนตริฟิเคชันen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดไนโตรเจนen_US
dc.subjectDenitrificationen_US
dc.subjectSewage -- Purification -- Nitrogen removalen_US
dc.titleผลของแหล่งคาร์บอนต่อการลดไนโตรเจนในน้ำเสียโดยกระบวนการดีไนตริฟิเคชันen_US
dc.title.alternativeEffect of carbon sources on nitrogen reduction in denitrification processen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorCharnwit@sc.chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1373-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suntaree_Yo.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.