Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4036
Title: | Development of lipid emulsion for parenteral nutrition |
Other Titles: | การพัฒนาการตั้งตำรับอิมัลชันไขมันสำหรับให้เป็นอาหารทางหลอดเลือดดำ |
Authors: | Supinda Ruangthurakit, 1971- |
Advisors: | Warangkana Warisnoicharoen |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences |
Advisor's Email: | Warangkana.W@Chula.ac.th |
Subjects: | Fat emulsions, Intravenous Parenteral feeding Lipids in human nutrition Soy lecithin |
Issue Date: | 2000 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The preparation method of parenteral lipid emulsion was studied. The medium chain triglycerides (MCT oil) and long chain triglycerides (soybean oil) were used at concentrations of 5%, 10% and 20%. The emulsifiers used were soy lecithin, synthetic nonionic surfactants; namely, Cremophor EL, poloxamer 188, Solutol HS15 and Tween 80. The emulsifiers were used either alone or in combination between soy lecithin and synthetic nonionic surfactant. The methods of preparation were varied in homogenization time, pressure and cycles through high pressure homogenizer. The formulations were sterilized by autoclaving. The results indicated that formulations composed of the combination of soy lecithin and Tween 80 and soy lecithin and poloxamer 188 could form stable emulsion. The lipid emulsion containing 10% soybean oil emulsified by 1.71% soy lecithin and 1.29% Tween 80 was the best formulation and was called "10% Pharmalipid". The particle sizes (d(v,0.5)) of such formulation before and after autoclaving were 0.31 and 0.33 um, respectively, which were insignificantly different (p>0.05). The pH, osmolality and the value of zeta potential of the emulsion were 6.8, 337 mOsm/kg water and -33.52 millivolts, respectively. The pH and zeta potential were slightly decreased upon storage at room temperature while the d(v,0.5) and osmolality remain constant. The developed emulsion and five commercial lipid emulsions; namely, 10% and 20% Intralipid, 10% and 20% Lipofundin MCT/LCT and 10% Lipofundin-S were used to prepare the total nutrient admixtures (TNA) by mixing with amino acid and dextrose solution. The physical stability and physicochemical properties of TNA were analyzed immediately after mixing and after storage at room temperature for 24 hours. The pH of TNA system was weakly acidic and remained constant throughout the period of study and the osmolality was slightly hyperosmotic. Moreover, the zeta potential was slightly decreased and the d(v,0.5) of emulsion in TNA systems remained close to that of the original lipid emulsion. |
Other Abstract: | การศึกษาการเตรียมอิมันชันไขมันสำหรับให้เป็นอาหารทางหลอดเลือดดำ โดยใช้น้ำมันสายโมเลกุลปานกลาง (น้ำมันเอ็มซีที) และน้ำมันสายโมเลกุลยาว (น้ำมันถั่วเหลือง) ในความเข้มข้นร้อยละ 5, 10 และ 20 ใช้สารอิมัลซิฟายเออร์ได้แก่ เลซิทินจากถั่วเหลือง สารลดแรงดึงผิวสังเคราะห์แบบไม่มีประจุ เช่น ครีมอฟอร์ดีแอล, พอลอซาเมอร์ 188, โซลูทอลเอชเอส 15 และทวีน 80 ซึ่งใช้เพียงชนิดเดียวหรือใช้ร่วมกันระหว่างเลซิทินจากถั่วเหลืองกับสารลดแรงดึงผิวสังเคราะห์แบบไม่มีประจุ ศึกษาปัจจัยจากวิธีการเตรียมอันได้แก่ เวลาในการปั่นผสมด้วยเครื่องปั่นผสมความเร็วสูง ความดันและจำนวนรอบในการผ่านสารเข้าสู่เครื่องปั่นผสมชนิดความดันสูง นำตำรับไปทำไร้เชื้อโดยใช้หม้อนึ่งอัดไอ ผลการศึกษาพบว่าตำรับที่ใช้ส่วนผสมของเลซิทินจากถั่วเหลืองกับทวีน 80 หรือ พอลอซาเมอร์ 188 สามารถเตรียมอิมัลชันไขมันที่คงตัวได้ ตำรับอิมัลชันไขมันที่ดีที่สุดในการศึกษานี้คือ 10% ฟาร์มาลิปิด ซึ่งประกอบด้วย น้ำมันถั่วเหลืองร้อยละ 10 เลซิทินจากถั่วเหลืองร้อยละ 1.71 และทวีน 80 ร้อยละ 1.29 เมื่อวัดเส้นผ่าศูนย์กลางร้อยละ 50 โดยปริมาตรของขนาดอนุภาคก่อนและหลังการทำไร้เชื้อมีค่า 0.31 และ 0.33 ไมโครเมตร ตามลำดับซึ่งไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ค่าความเป็นกรด-ด่าง ค่าออสโมแลลิตี และค่าความต่างศักย์ที่ผิวอนุภาคหลังการทำไร้เชื้อมีค่า 6.8, 337 มิลลิออสโมลต่อกิโลกรัมน้ำ และ -33.52 มิลลิโวลท์ ตามลำดับ เมื่อเก็บไว้ที่อุณหภฺมิห้องพบว่า ค่าความเป็นกรด-ด่างและค่าความต่างศักย์ที่ผิวอนุภาคมีค่าลดลงเล็กน้อย ในขณะที่เส้นผ่าศูนย์กลางร้อยละ 50 โดยปริมาตรของอนุภาคและค่าออสโมแลลิตีค่อนข้างคงที่ นำอิมันซันไขมันตำรับนี้และตำรับที่มีจำหน่ายในท้องตลาดได้แก่ 10% 20% อินทราลิปิด 10% 20% ไลโปฟันดินเอ็มซีที/แอลซีที และ 10% ไลโปฟันดิน-เอส มาผสมร่วมกับสารละลายกรดอะมิโนและเดกซ์โทรสเพื่อเตรียมเป็นสารอาหารทั้งหมดที่ให้ทางหลอดเลือดดำ ศึกษาความคงตัวทางกายภาพและคุณสมบัติทางเคมีกายภาพของทุกสูตรทันทีที่เตรียมเสร็จใหม่และหลังจากเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 24 ชั่วโมง พบว่าทุกตำรับมีความคงตัวดี มีความเป็นกรดอ่อน ๆ มีค่าออสโมแลลิตีสูง ค่าความต่างศักย์ที่ผิวอนุภาคน้ำมันมีค่าลดลงเล็กน้อยเส้นผ่าศูนย์กลางร้อยละ 50 โดยปริมาตรของขนาดอนุภาคมีค่าใกล้เคียงกับของอิมันชันไขมันเริ่มต้น |
Description: | Thesis (M.Sc. in Pharm)--Chulalongkorn University, 2000 |
Degree Name: | Master of Science in Pharmacy |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Food Chemistry and Medical Nutrition |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4036 |
ISBN: | 9743464174 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Pharm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Supinda.pdf | 1.39 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.