Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4066
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไพโรจน์ โชติวิทยธารากร | - |
dc.contributor.advisor | สังคม จงพิพัฒน์วณิชย์ | - |
dc.contributor.author | อวยพร ชีวะถาวร, 2514- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2007-09-11T10:45:47Z | - |
dc.date.available | 2007-09-11T10:45:47Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743338047 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4066 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | en |
dc.description.abstract | จุดประสงค์ เพื่อศึกษาถึงความชุกของภาวะไขมันในเลือดสูงในเด็กที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด รูปแบบการศึกษา เป็นการทำวิจัย ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง (cross sectional study) สถานที่ศึกษา ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ประชากรที่ศึกษา เด็กและวัยรุ่นอายุ 4-20 ปี ที่มีประวัติของบุคคลในครอบครัวเป็น premature coronary heart disease หรือมีระดับ cholesterol ในเลือดสูงกว่า 240 มก./ดล. และไม่มีโรคประจำตัวใดๆ หรือรับประทานยาใดเป็นประจำ วิธีการศึกษา เด็กและวัยรุ่นเข้าร่วมการศึกษาทุกรายจะได้รับการตรวจกรอง โดยเจาะเลือดจากปลายนิ้ว เพื่อวัด ระดับ total cholesterol ด้วยวิธี Reflotron dry chemistry เมื่อค่าที่ได้มากกว่าหรือเท่ากับ 170 มก./ดล. จะทำการตรวจระดับไขมันชนิดต่างๆ ด้วยวิธี lipoprotein analysis โดยห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โดยต้องงดอาหารก่อนทำการตรวจเลือดครั้งที่สอง อย่างน้อย 12 ชั่วโมง ข้อมูลที่ได้นำมาคำนวณเป็นความชุกของการมีระดับไขมันในเลือดสูง ผลการศึกษา เด็กและวัยรุ่นที่ทำการศึกษา 100 ราย มีระดับ total cholesterol จากการตรวจกรองโดยเจาะเลือดจากปลายนิ้วมากกว่าหรือเท่ากับ 170 มก./ดล. 53 ราย และมารับการตรวจไขมันโดยวิธีมาตรฐาน โดยเจาะเลือดจากหลอดเลือดดำ จำนวน 47 ราย พบว่ามีระดับ total cholesterol มากกว่าหรือเท่ากับ 200 มก./ดล. 31 ราย, มีระดับ LDLC มากกว่าหรือเท่ากับ 130 มก./ดล. 36 ราย, มีระดับ HDLC น้อยกว่า 45 มก./ดล. 17 ราย และมีความสอดคล้องกันของระดับ total cholesterol ที่ตรวจโดย reflotron dry chemistry และวิธี lipoprotein analysis มีค่า interclass correlation coefficient เท่ากับ 0.629 ในเด็กและวัยรุ่นที่มีระดับ total cholesterol มากกว่าหรือเท่ากับ 200 มก./ดล. พบว่าร้อยละ 96.7 มีระดับ LDLC มากกว่าหรือเท่ากับ 130 มก./ดล. สรุป เด็กที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด มีความชุกของการมีระดับ total cholesterol > 200 มก./ดล. อย่างน้อยวันละ 31 ซึ่งนับว่าสูงและใกล้เคียงกับการศึกษาในต่างประเทศ อาจสรุปได้ว่าในอนาคตอาจมีแนวโน้มพบอุบัติการณ์ของการเกิดโรคหัวใจขาดเลือดในคนไทยเพิ่มมากขึ้น หากไม่มีการป้องกันตั้งแต่เนิ่นๆ | en |
dc.description.abstractalternative | Objective: To study the prevalence of hyperlipidemia in children with coronary heart disease risk factors. Design: Cross sectional study. Setting: Department of Pediatrics, Chulalongkorn Hospital. Target population: Children and adolescents aged between 4-20 years who had family history of premature coronary heart disease and/or parental hypercholesterolemia. Interventions: All subjects were measured capillary blood total cholesterol level by Reflotron dry chemistry method, and lipoprotien analysis were done in subjects who had capillary blood total cholesterol level>170 mg/dl. Results: Fifty-three children and adolescents had total capillary blood cholesterol level>170 mg/dl. Forty-seven of this group were measured for lipid profile. Total cholesterol level>200 mg/dl, LDL-C level>130 mg/dl and HDL-C level<45 mg/dl were found in 31 subjects, 36 subjects and 17 subjects, respectively. There is a good correlation of total cholesterol level that measured by Reflotron dry chemistry and lipoprotein analysis (Interclass correlation coefficient = 0.629). Ninety-seven percent of children and adolescents who had total cholesterol level>200 mg/dl had LDL-C level>130 mg/dl. Conclusion: Children and adolescents with coronary heart disease risk factors had high prevalence of hyperlipidemia, it may predict the high prevalence of premature coronary heart disease in the future | en |
dc.format.extent | 4377131 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | โคเลสเตอรอล | en |
dc.subject | หลอดเลือดโคโรนารีย์ -- โรค | en |
dc.title | ภาวะไขมันในเลือดสูงในเด็กที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด | en |
dc.title.alternative | Hyperlipidcmia in children with coronary heart disease risk factors | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | กุมารเวชศาสตร์ | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.advisor | fmedsjp@md2.md.chula.ac.th, sungkom.j@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
auyporn.pdf | 3.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.