Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41344
Title: Effects of metal/modenite on product selectivity of normal hexane conversion
Other Titles: ผลของโลหะ/มอร์ดิไนต์ต่อการเลือกจำเพาะผลิตภัณฑ์ของการเปลี่ยนนอร์มัลเฮกเซน
Authors: Pisit Jantarasuwan
Advisors: Wimonrat Trakarnpruk
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Subjects: Catalysts
Hexane
Mordenite
ตัวเร่งปฏิกิริยา
เฮกเซน
มอร์ดิไนต์
Issue Date: 2007
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Metal/mordenite catalysts were prepared by ion-exchange and impregnation methods. The catalysts were characterized by XRD, FT-IR, XRF, NH3-TPD, BET and TGA. They were used as the catalyst for the conversion of n-hexane. Various parameters influencing the reaction such as metal loading method, metal type (Pd, Pt, Ga, and Zn), potassium content, time on stream, and type of catalyst mixture (Ga/Al2O3, ZrO2, MgO, MCM-41, Bentonite, and K-Bentonite) were investigated. It was found that 1%Pt1%Ga/HM prepared by impregnation method gave highest selectivity for isomerization (68.1%) when performed at 400°C, 1 h, WHSV of 1 h-1 and catalyst weight of 1 g. Potassium-containing catalyst decreased cracking products when compared with non-potassium catalyst. After mixing the 1%Pt1%Ga/HM catalyst with either MCM-41 or MgO, aromatic products were increased because total basicity was increased. For 1%Pt1%Ga/HM catalyst mixed with K-bentonite, the isomerization products were increased by acid function. In addition, it was shown that the catalyst can be reused for upto three times.
Other Abstract: ได้เตรียมโลหะ/มอร์ดิไนต์คะตะลิสต์โดยวิธีแลกเปลี่ยนไอออนและวิธีฝังตัว การตรวจ พิสูจน์ทราบคะตะลิสต์นั้นกระทำโดยวิธี XRD, FT-IR, XRF, NH3-TPD, BET และ TGA สารที่ได้ นี้นำไปเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการเปลี่ยนรูปนอร์มัลเฮกเซน โดยได้ศึกษาเปรียบเทียบผลของตัวแปร ต่างๆ ได้แก่ วิธีการใส่โลหะ ชนิดของโลหะ (Pd, Pt, Ga และ Zn), ปริมาณโพแทสเซียม, เวลาใน การทำปฏิกิริยา, และชนิดของตัวเร่งปฏิกิริยาผสม (Ga/Al2O3, ZrO2, MgO, MCM-41, Bentonite และ K-Bentonite) พบว่าเมื่อทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส ความเร็วเชิงสเปซ 1 ต่อ ชั่วโมง ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา 1 กรัม สามารถเกิดไอโซเมอไรเซชั่นสูงสุดถึง 68.1% เมื่อใช้ตัวเร่ง ปฏิกิริยาชนิด 1%Pt1%Ga/HM ที่เตรียมโดยวิธีฝังตัว และเมื่อเปรียบเทียบตัวเร่งปฏิกิริยาที่เติม โลหะโพแทสเซียม มีผลลดการเกิดผลิตภัณฑ์แครกกิ้งเมื่อเทียบกับตัวเร่งปฏิกิริยาที่ไม่มี โพแทสเซียม และเมื่อนำตัวเร่งปฏิกิริยาไปผสมกับ MCM-41 หรือ MgO อย่างใดอย่างหนึ่ง ได้ ผลิตภัณฑ์ของแอโรแมติกส์เพิ่มขึ้น เนื่องจากความเป็นเบสของตัวเร่งปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น สำหรับ ตัวเร่งปฏิกิริยา 1%Pt1%Ga/HM ที่ผสมด้วย K-Bentonite ได้ผลิตภัณฑ์ชนิดไอโซเมอไรเซชันของ นอร์มัลเฮกเซนเพิ่มขึ้นเนื่องจากความเป็นกรดของตัวเร่งปฏิกิริยา นอกจากนั้นยังพบว่าสามารถนำ ตัวเร่งปฏิกิริยากลับมาใช้ใหม่ได้ถึง 3 ครั้ง
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2007
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemistry and Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41344
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pisit_ja_front.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open
Pisit_ja_ch1.pdf810.19 kBAdobe PDFView/Open
Pisit_ja_ch2.pdf2.28 MBAdobe PDFView/Open
Pisit_ja_ch3.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open
Pisit_ja_ch4.pdf2.81 MBAdobe PDFView/Open
Pisit_ja_ch5.pdf684.88 kBAdobe PDFView/Open
Pisit_ja_back.pdf2.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.