Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41447
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กิตติ กันภัย | - |
dc.contributor.author | บุษลักษณ์ บุญมาก | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2014-03-19T10:42:33Z | - |
dc.date.available | 2014-03-19T10:42:33Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41447 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง "ทัศนคติและปฏิกิริยาตอบสนองเชิงอารมณ์ของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือที่มีต่อการรบกวนของ ข้อความการตลาดทางโทรศัพท์มือถือ" มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อศึกษาทัศนคติและอารมณ์ตอบสนองของผู้ใช้ โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีต่อข้อความการตลาดทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ และเพื่อวิเคราะห์เนื้อหาของข้อความการตลาด ทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ส่งจากผู้ให้บริการ โดยอาศัยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการออกแบบสร้างสรรค์ข้อความและกลยุทธ์ในการส่งข้อความ การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของบริษัท แอ๊ดแวนซ์ อินโฟร์เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และ บริษัท โทเทิล แอ๊คเซส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) จำนวน 120 คน และ การวิเคราะห์ข้อความสั้น จากโทรศัพท์เคลื่อนที่ จำนวน 4 หมายเลข ในช่วงวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ภายใต้กรอบแนวคิดทฤษฎีเทคโนโลยีเป็นตัวกำหนด แนวความคิด ทฤษฎีว่าด้วยสิทธิส่วนตัวหรือความ เป็นส่วนตัว แนวความคิดเรื่องการโฆษณา และแนวความคิดเรื่องการโน้มน้าวใจ ผลวิจัยพบว่าใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ส่วนใหญ่มีทัศนคติ และปฏิกิริยาตอบสนองเชิงอารมณ์"นิ่งเฉย" กลุ่มผู้ใช้ส่วนน้อยที่มีทัศนะคติที่เป็นลบ มีความรู้สึกเบื่อหน่ายและรำคาญใจเมื่อได้ รับข้อความ บางส่วนที่มีทัศนคติทางบวกและพึงพอใจในข้อความ โดยมีปัจจัยคือ อายุ การศึกษาและรายได้ ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติเชิงบวกได้แก่ การเกิดประสบการณ์ร่วม และ ความสัมพันธ์ของข้อความ ปัจจัยที่ส่งผลต่อทางลบได้แก่ ความไม่สัมพันธ์ของ ข้อความ และ ความถี่ที่มากเกินไปในการรับข้อความ รวมถึงบริบทที่รับข้อความ โดยสรุปกล่าวได้ว่าการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสื่อสารอย่างรวดเร็ว ทำให้ความเป็นส่วนของคนในสังคมลดลง นอกจากนั้นยังลดทอนสิทธิส่วนบุคคล และสร้างสภาวะความไร้สันโดษของปัจเจกบุคคล | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to investigate the attitude and mood of mobile phone users towards mobile marketing messages. Additionally, this study aimed to analyze the contents of the mobile marketing messages sent from mobile phone provider. In-depth interviews of those who were involved increating the messages and message sending strategies were conducted. The total of 120 personal of Advanced Info Service, PLC. and Total Access Communication, PLC. were interviewed. Mobile marketing messages received by 4 mobile phone numbers during 1 November 2005 to 31 December 2005 were analyzed by using the technology determinism theory, as well as the concept of privacy, advertising and persuasion. The results of the study showed that the majority of the mobile phone users had a "neutral" attitudinal and mood response towards the messages. A minority of the users gave a negative attitude,feeling annoyed when receiving the messages. Some of the group had a positive attitude, feeling satisfied with the messages. Factors contributing to the attitude were age, education, and income. Factors contributing to a positive attitude were a common experience and the congruity of the messages. Negative factors were the incongruity of the messages and the too high frequency of the messages as well as message-receiving contexts. It can be concluded that the rapid advancement of communication technology results in the decrease of privacy of people. In addition, the messages affect privacy rights. This makes individuals increasingly involved in non-solitary life. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1451 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | ทัศนคติและปฏิกิริยาตอบสนองเชิงอารมณ์ของผู้ใช้โทรทัศน์มือถือที่มีต่อการรบกวนของข้อความการตลาดทางโทรศัพท์มือถือ | en_US |
dc.title.alternative | Attitude and mood of mobile phone users towards disturebance of mobile marketing messages | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การสื่อสารมวลชน | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2006.1451 | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Busaluk_bo_front.pdf | 2.07 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Busaluk_bo_ch1.pdf | 3.2 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Busaluk_bo_ch2.pdf | 4.07 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Busaluk_bo_ch3.pdf | 1.34 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Busaluk_bo_ch4.pdf | 4.92 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Busaluk_bo_ch5.pdf | 3.22 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Busaluk_bo_ch6.pdf | 1.83 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Busaluk_bo_back.pdf | 1.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.