Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41496
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิมพันธ์ เดชะคุปต์
dc.contributor.authorทนงสักดิ์ ชัยชนะปัญญา
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned2014-03-19T11:11:36Z
dc.date.available2014-03-19T11:11:36Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41496
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมีด้วยวิธีสืบสอบของครูมัธยมศึกษาตอนปลาย ในนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตัวอย่างประชากร คือ ครูสอนวิชาเคมี จำนวน 89 คน และหัวหน้าหมวดวิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 27 คน ในปีการศึกษา 2549 เครื่องมือวิจัย คือ 1) แบบสอบถาม 2) แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยสรุปดังนี้ 1. สภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมีด้วยวิธีสืบสอบของครูมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า ครูเคมีปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนสืบสอบ แต่อยู่ในระดับน้อย การใช้สื่อการเรียนการสอนอยู่ในระดับน้อย ส่วนการประเมินผลการเรียนรู้ พบว่า ครูเป็นผู้ประเมินด้วยแบบสอบอย่างสม่ำเสมอ นอกจากนี้พบว่า วิธีสอนที่ครูเคมีปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอมี 2 วิธี คือ วิธีสอนแบบบรรยายและสาธิต 2. ปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมีด้วยวิธีสืบสอบของครูมัธยมศึกษาตอนปลาย ในด้านการจัดการเรียนการสอนพบว่า ครูเคมีร้อยละ 51.8 ขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีสืบสอบ ครูร้อยละ 31.04 ให้ความเห็นว่า ขาดแคลนสื่อ อุปกรณ์และเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ในการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมี นอกจากนี้ครูเคมีร้อยละ 92.59 ให้ความเห็นว่า ครูขาดความรู้เกี่ยวกับการประเมินที่หลากหลาย
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research were to study the state and problems in chemistry instruction using the inquiry method of upper secondary school teachers in Vientiane Capital, Loa's people democratic republic. The research samples were 89 chemistry teachers who taught chemistry subject and 27 heads of science department in academic year 2006. The research instruments were 1) the questionnaires, and 2) the structured interview. The collected data were analyzed by means of percentage, arithmetic mean and content analysis. The results were summarized as follows: 1. State of chemistry instruction using the inquiry method of upper secondary school. It was found that chemistry teachers taught by using the inquiry method and using instructional media in low level. In learning assessment, chemistry teachers were the evaluators by using test form constantly. Moreover, it was found that chemistry teachers taught by using lecture, and demonstration method constantly. 2. Problems of chemistry instruction using the inquiry method of upper secondary school It was found that 51.8 percent of chemistry teachers lacked of knowledge and understanding in inquiry method; lacked of media, science aids and instruments (31.04%); and lacked of knowledge in using variety assessments (92.59%),
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.621-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมีด้วยวิธีสืบสอบของครูมัธยมศึกษาตอนปลาย ในนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวen_US
dc.title.alternativeA study of state and problems of chemistry instruction using the inquiry method of upper secondary school teachers in vientiane captital, Lao's people democratic republicen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษาวิทยาศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.621-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanongsack_xa_front.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open
Thanongsack_xa_ch1.pdf2.1 MBAdobe PDFView/Open
Thanongsack_xa_ch2.pdf7.05 MBAdobe PDFView/Open
Thanongsack_xa_ch3.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open
Thanongsack_xa_ch4.pdf4.68 MBAdobe PDFView/Open
Thanongsack_xa_ch5.pdf2.66 MBAdobe PDFView/Open
Thanongsack_xa_back.pdf7.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.