Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41511
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปณิธาน วัฒนายากร
dc.contributor.authorยงยุทธ ห่อทอง
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
dc.date.accessioned2014-03-19T11:20:17Z
dc.date.available2014-03-19T11:20:17Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41511
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีประเด็นการศึกษา คือ เพราะปัจจัยใดผู้นำพลเรือนจึงสามารถเข้าไปมีบทบาทในการกำหนดนโยบายความมั่นคงของไทย โดยเฉพาะในกรณีการยกเล4ิกการจัดซื้อเครื่องบินรบเอฟ-18 ของกองทัพอากาศไทยจากประเทศสหรัฐอเมริกาในช่วงปี ค.ศ. 1997-2000 ซึ่งแต่เดิมทหารมักจะมีบทบาทหลักในการกำหนดนโยบายความมั่นคง แต่กรณีดังกล่าวพลเรือนกลับมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นและทหารกลับมีบทบาทลดลงอย่างเห็นได้ชัดในช่วงดังกล่าวด้วย การศึกษานี้ใช้กรอบแนวคิด 3 แนวทาง คือ 1) กรอบแนวคิดการตัดสินใจกำหนดนโยบาย อันแสดงให้เห็นถึงเหตุที่บุคคลและกลุ่มบุคคลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการกำหนดนโยบายในการตัดสินใจเลือกทางเลือกต่างๆ ที่เหมาะสมต่อปัญหาและสถานการณ์นั้นๆ 2) กรอบแนวคิดความสัมพันธ์ระหว่างพลเรือน-ทหาร เป็นการกำหนดรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างพลเรือน-ทหารในขอบเขตที่เหมาะสมของแต่ละฝ่าย และ 3) กรอบแนวคิดการช่วยเหลือต่างประเทศในเชิงการเมือง ที่แสดงให้เห็นถึงนัยของการให้ความช่วยเหลือของประเทศผู้ให้และความต้องการของประเทศผู้รับ การศึกษา พบว่า ปัจจัยภายใน ได้แก่ ปัจจัยแนวคิด ความเชื่อ และประสบการณ์ทาง การเมืองของผู้นำพลเรือนในการปฏิรูปงานด้านความมั่นคงเพื่อทำให้ทหารเป็นทหารอาชีพโดยเพิ่มบทบาทพลเรือนในการควบคุมกองทัพ และปัจจัยจากการเปลี่ยนแปลงทัศนคติที่ดีต่อการพัฒนาความเป็นทหารอาชีพของผู้นำทางทหารในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ กับ ปัจจัยภายนอก ซึ่งได้แก่ การพึ่งพาการให้ความช่วยเหลือความมั่นคงทางทหารจากสหรัฐอเมริกาในไทยและภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และปัจจัยเสริมจากการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ภัยคุกคามความมั่นคงในแถบประเทศเพื่อนบ้านของไทย เป็นปัจจัยกำหนดมาประกอบกันสำหรับการมีบทบาทของผู้นำพลเรือนในการกำหนดนโยบายความมั่นคงของไทยในกรณีการแก้ไขปัญหาการส่งคืนเครื่องบินรบแบบเอฟ-18 ของกองทัพอากาศไทยให้ประเทศสหรัฐอเมริกา อันนำไปสู่การปรับความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกาให้มีความใกล้ชิดมากขึ้นในช่วงปลายทศวรรษที่ 1990
dc.description.abstractalternativeThe aim of this thesis is to find out what are the factors contributing to the role of civilian leaders in the process of Thailand’s security policy’s formulation during 1997-2000. In doing so, the thesis examines the cancellation of the Royal Thai Air Force’s F/A-18 Jet Fighters procurement from the United States of America. The theories utilized in the thesis are; the decision-making approach which shows the causes of the policy-makers to chose the appropriate choices for the situations, the civil-military relations approach which shows the interactions between civilians and military leaders, and the foreign military aid approach which shows implication of major country’s foreign aid and the need of the small countries. The study found out that the internal factors were especially the concepts, believes and experiences of the civilian leaders to reform the security sector allowed the civilian leaders to have power to control the military. In addition, the military accepted the role of the civilian leaders more because of the economic crisis. Moreover, there were external factors including the reliance on the foreign military aid from the United States of America and the changes of the new security threat in neighboring countries. Both of those factors not only affected the role of the civilian leaders in the process of Thailand’s security policy’s formulation during 1997-2000, but also, led to the improvement of the relationship between Thailand and the United States in the late of 1990s.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.431-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleบทบาทของผู้นำพลเรือนในการกำหนดนโยบายความมั่นคงของไทย, 1997-2000 : ศึกษากรณีการส่งคืนเครื่องบินรบเอฟ-18en_US
dc.title.alternativeThe role of civilian leaders in the formulation of Thailand's security policy during 1997-2000 : The case study of the cancellation of F-18 Jet Fighters Procurementen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineความสัมพันธ์ระหว่างประเทศen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.431-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yongyooth_ho_front.pdf1.76 MBAdobe PDFView/Open
Yongyooth_ho_ch1.pdf5.29 MBAdobe PDFView/Open
Yongyooth_ho_ch2.pdf6.97 MBAdobe PDFView/Open
Yongyooth_ho_ch3.pdf5.9 MBAdobe PDFView/Open
Yongyooth_ho_ch4.pdf4.93 MBAdobe PDFView/Open
Yongyooth_ho_ch5.pdf3.38 MBAdobe PDFView/Open
Yongyooth_ho_back.pdf4.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.