Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41539
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพร ชัยอารีย์กิจ
dc.contributor.authorสมพร อยู่โต
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2014-03-19T11:47:13Z
dc.date.available2014-03-19T11:47:13Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41539
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาผล ระยะเวลาในการเก็บกระดาษและสภาพในการเก็บกระดาษ ต่อประสิทธิภาพการดึงหมึกพิมพ์ออกจากกระดาษด้วยวีลอยฟองอากาศ โดยการทดลองเริ่มจากการเก็บกระดาษหนังสือพิมพ์ในระยะเวลาและสภาพการเก็บที่แตกต่างกัน เมือครบตามเวลาที่กำหนดแล้วนำหนังสือพิมพ์นั้นไปผ่านกระบวนการตีเยื่อ โดยใช้เวลาในการตีเยื่อเท่ากับ 30 นาที อัตราความเร็วของเครื่องตีเยื่อเท่ากับ 170 รอบต่อนาที ค่าความเข้มข้นของเยื่อเท่ากับร้อยละ 5 ความเป็นกรด-เบสเท่ากับ 11 โดยมีการเติมสารเคมีในระว่างการตีเยื่อ ดังนี้คือ โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ความเข้มข้นเท่ากับร้อยละ 2, โซเดียมซิลิเกต (Na SiO ) ความเข้มข้นเท่ากับร้อยละ 3, ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซดื (H O ) ความเข้มขันเท่ากับร้อยละ 1 และ สารลดแรงตึงผิว (Surfactant) ความเข้มข้นเท่ากับร้อยละ 0.5 ของน้ำหนักเยื่อแห้งตามลำดับ จากนั้นนำเยื่อที่ได้ไปผ่านการดึงหมึกออกด้วยวีลอยฟองอากาศ โดยใช้อัตราการไหลของฟองอากาศเท่ากับ 3 ลิตรต่อนาที ความเข้มข้นของเยื่อเท่ากับร้อยละ 0.8 และใช้เวลาในการลอยฟองอากาศเท่ากับ 10 นาที จากนั้นนำเยื่อที่ได้ไปวัดค่าสภาพระบายได้ (Freeness) ปริมาณผลผลิตที่ได้ (Yield) และนำเยื่อที่เหลือไปทำแผ่นทดสอบ (Handsheet) จากนั้นนำแผ่นทดสอบที่ได้ไปวัดค่าความขาวสว่าง (Brightness) และปริมาณหมึกที่เหลืออยู่ในเยื่อ (ERIC-Effective Residual Ink Concentration) จากผลการทดลองพบว่าเมื่อระยะเวลาในการเก็บกระดาษนานขึ้นแนวโน้มของค่าความขาวสว่างที่ได้จะลดลงและปริมาณหมึกพิมพ์ที่เหลืออยู่เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ประสิทธิในการดึงหมึกออกดีขึ้น ในส่วนของสภาพการเก็บกระดาษนั้น พบว่า การเก็บกระดาษในสภาพเปียกนั้นมีผลทำให้ค่าความขาวสว่างที่ได้ไปวัดค่าความขาวสว่าง (Brightness) และปริมาณหมึกที่เหลืออยู่ในเยื่อ (ERIC-Effective Residual Ink Concentration) จากผลการทดลองพบว่าเมื่อระยะเวลาในการเก็บกระดาษนานขึ้นแนวโน้มของค่าความขาวสว่างที่ได้จะลดลงและปริมาณหมึกพิมพ์ที่เหลืออยู่เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการดึงหมึกออกดีขึ้น ในส่วนของสภาพการเก็บกระดาษนั้น พบว่า การเก็บกระดาษในสภาพเปียกนั้นมีผลทำให้ค่าความขาวสว่างต่ำกว่าและปริมาณหมึกที่เหลือยู่สูงกว่าการเก็บกระดาษในสภาพแห้งทำให้ประสิทธิภาพในการตึงหมึกออกลดลง
dc.description.abstractalternativeThis research was aimed to study the effects of aging times and aging conditions on deinking efficiency of local newsprints. The experiments were started by aging newsprints at different times and conditions. Then, the newsprints were repulped for 30 min using the speed of the pulper of 170 rpm. Pulp consistency was 5% and pH was equal to 11, Chemicals which were 2% Sodium hydroxide (NaoH), 3% Sodium Sodium silicate (Na SiO ), 1% Hydrogen peroxide (H O ) and 0.5% surfactant based on oven dry pulp weight were also added in the pulper. After repulping, flotation deinking was performed using 3 L/min air flow rate, 0.8% consistency and 10 min flotation time. After deinking, freeness values of both pulps before and after flotation were determined. Flotation yield was also calculated. Handsheets were then made to measure brightness and ERIC (ERIC-effective Residual Ink Concentration) values. The results indicated that both aging time and aging conditions have strong influence of deinking efficiency. Longer aging time before deinking decreases pulp brightness and increases ERIC values. Newsprints kept under wet condition before deinking provide pulp with lower brightness and higher ERIC values as compared to paper kept under dry condition.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.684-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleผลของภาวะการเก็บรักษากระดาษในที่ร่มต่อการดึงหมึกออกจากกระดาษหนังสือพิมพ์en_US
dc.title.alternativeEffects of indoor aging conditions on deinking of newsprintsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางภาพen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.684-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somporn_yo_front.pdf2.23 MBAdobe PDFView/Open
Somporn_yo_ch1.pdf938.5 kBAdobe PDFView/Open
Somporn_yo_ch2.pdf3.55 MBAdobe PDFView/Open
Somporn_yo_ch3.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open
Somporn_yo_ch4.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open
Somporn_yo_ch5.pdf800.28 kBAdobe PDFView/Open
Somporn_yo_back.pdf4.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.