Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41594
Title: นโยบายเศรษฐกิจชายแดนเชียงราย กรณีศึกษาเขตเศรษฐกิจชายแดนเชียงราย
Other Titles: Border Trade Policy a case study of border Economic zone in Chiangrai Province
Authors: เจน กิตติรัตนไพบูลย์
Advisors: มณิศรี พันธุลาภ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์
Subjects: ไทย -- การค้ากับต่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
นโยบายการค้า -- ไทย
นโยบายเศรษฐกิจ -- ไทย -- เชียงราย
Thailand -- International trade
International trade
Commercial policy -- Thailand
Economic policy -- Thailand -- Chiangrai
Issue Date: 2550
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาถึงกระบวนการกำหนดนโยบายเขตเศรษฐกิจชายแดนเชียงราย โดยถือเอา “กลุ่มผลประโยชน์” เป็นหน่วยหลักในการศึกษา โดยนำกรอบแนวคิดเรื่องกลุ่มผลประโยชน์มาประยุกต์ในการวิเคราะห์ เพื่อแสดงให้เห็นถึงบทบาทและพฤติกรรมของกลุ่มผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องฐานะ “ตัวแสดง” ที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนเขตเศรษฐกิจชายแดนเชียงราย จากการศึกษาพบว่า ภาครัฐ หมายถึง รัฐบาลในสมัยของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นตัวแสดงที่สำคัญในฐานะกลุ่มผลประโยชน์ที่เป็นตัวผลักดันหลักก่อให้เกิดนโยบายเขตเศรษฐกิจชายแดนเชียงราย โดยมีภาคเอกชน คือ หอการค้าจังหวัดเชียงรายเป็นแรงสนับสนุนเพื่อก่อให้เกิดอย่างเป็นรูปธรรม สำหรับภาคประชาชน เป็นตัวแสดงที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบจากนโยบายเขตเศรษฐกิจชายแดนเชียงรายมากที่สุด เนื่องจากขาดการมีส่วนร่วมและรับรู้ข้อเท็จจริงในโครงการดังกล่าว
Other Abstract: This thesis investigates the process of setting the border economic zone in Chiangrai province. The main factor of this study is “Interest group” which shows the important role to drive the economic in this area. The study also provides the strategy of the interest group to analyst the economic behavior. From this study, it shows that the government under Thaksin Shinnawatra who is Thailand prime minister is influential interest group who establishes the border economic zone in Chiangrai province. Also, the private sector such Chiangrai Chamber of Commerce is another supporter in this case study. Therefore, the local public, who supposes to be the primary actor in the border economic zone, has less responsibility and acknowledgement in this policy.
Description: วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
Degree Name: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: เศรษฐศาสตร์การเมือง
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41594
Type: Thesis
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jane_ki_front.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open
Jane_ki_ch1.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open
Jane_ki_ch2.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open
Jane_ki_ch3.pdf2.52 MBAdobe PDFView/Open
Jane_ki_ch4.pdf3.24 MBAdobe PDFView/Open
Jane_ki_ch5.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Jane_ki_back.pdf5.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.