Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41622
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลิสา วังใน
dc.contributor.authorศศิฌามนตร์ แสงสวัสดิ์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2014-03-23T04:20:27Z
dc.date.available2014-03-23T04:20:27Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41622
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractแอทราซินเป็นสารกำจัดวัชพืชในกลุ่มของ s-triazine ที่มีการนำมาใช้ในการเกษตรกรรมกันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากมีคุณสมบัติที่มีความคงทนสูงทำให้เกิดการตกค้างในสิ่งแวดล้อม เมื่อมีการชะล้างตามธรรมชาติ อาจเกิดการแพร่กระจายและปนเปื้อน ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอื่น ๆในระบบนิเวศ รวมถึงมนุษย์ด้วย งานวิจัยนี้ ได้ศึกษาความสามารถของเรากลุ่มต่างๆ ต่อการย่อยสลายแอทราซิน ให้อยู่ในรูปที่มีความเป็นพิษน้อยลง โดยราที่ศึกษา ได้แก่ ราเอนโดไฟต์ ราดิน ราและเห็นที่ขึ้นบนเศษซากพืช รวมทั้งสิ้น 28 ไอโซเลต ซึ่งได้แบ่งผลการทดลองในขั้นปฐมภูมิ โดยการวิเคราะห์ Spectrophotometry พบว่า ภายหลังจากการบ่มเชื้อในอาหารเลี้ยงเชื้อ Synthetic media เป็นเวลา 20 วัน ราไวต์รอตไอโซเลต W5 ซึ่งเป็นราไวตรอตชนิด Trametes versicolor ไอโซเลต W5 มีความสามารถในการย่อยสลายแอทราซินได้ดีที่สุด จึงได้เลือกเพื่อมาศึกษาในขั้นทุติยภูมิต่อ เป็นเวลา 42 วัน โดยการวิเคราะห์ Height Performance Liquid Chromatography (HPLC) ซึ่งพบว่า รา W5 สามารถย่อยสลายแอทราซินในอาหารเลี้ยงเชื้อได้ ในการทดลองวันที่ 42 พบความเข้มข้นของแอทราซินในอาหารเลี้ยงเชื้อ เพียง 2.66 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งสอดคล้องกับการเจริญเติบโตของรา ส่วนการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการย่อยสลายแอทราซิน พบว่า ราไอโซเลต W5 มีอัตราการย่อยสลายแอทราซินได้สูงที่สุดในสภาวะที่อาหารเลี้ยงเชื้อมีความเข้มข้นของแอทราซิน 10 มิลลิกรัมต่อลิตร มีกลูโคสเป็นองค์ประกอบ 20 มิลลิกรัมต่อลิตร ที่ค่าความเป็นกรด-ด่างเท่ากับ 5 ซึ่งมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายแอทราซินได้ถึง 98.94 เปอร์เซ็นต์ และ ในขั้นตอนการศึกษาสารเมทาบอไลท์ โดยการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค Liquid Chromatography Mass Spectroscopy (LC-MS) ได้พบสารที่เป็นเมทาบอไลท์ 1 ชนิดคือ 2-hydrox-4-(isopropylamino)-6-(ethylamino)-s-triazine (OIET) ในการทดลองของวันที่ 35
dc.description.abstractalternativeAtrazine [2-chloro-4-(ethylamino)-6-(isopropylamino)-s-triazine] is one of the most widely used herbicides in the world for the control of annual grasses and broadleaf weeds in corn and sorghum. It is also used as a nonselctive herbicide for vegetation control in non crop land. This research investigates the fungi capable of the biodegradation of atrazine into the less toxic metabolite. Twenty-eight isolates of the endophytic fungi, soil fungi and white-rot fungi were screened for their degradation ability in synthetic medium using spectrophotometry analysis. The fungus isolate W5, Trametes versicolor had the highest degradation rate of atrazine (0.75 milligrams per grams dry weight) after 20 days. The secondary degradation test was carried out with a Height Performance Liquid Chromatography (HPLC) analysis as a quantitative measurement of atrazine degradation for 42 days of incubation. The results showed that atrazine concentration decreasd gradually and atrazine concentration was 2.66 milligrams per liter on day 42. The result of degradation test related to the growth of the fungus. The optimum growing and degrading condition for the fungus isolate W5 were achieved using atrazine concentration 10 milligrams per liter of and glucose concentration 20 milligrams per liter of at pH 5 at 98.94 percentage of degradation efficiency. The metabolite of degraded atrazine detected by Liquid Chromatography Mass Spectroscopy (LC-MS) on day 35 was 2-hydrox-4-(isopropylamino)-6-(ethylamino)-striazine (OIET)
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.249-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการย่อยสลายทางชีวภาพของแอทราซินโดยราen_US
dc.title.alternativeBiodegradiation of atrazine by fungien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.249-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasichamon_sa_front.pdf3.8 MBAdobe PDFView/Open
Sasichamon_sa_ch1.pdf1.51 MBAdobe PDFView/Open
Sasichamon_sa_ch2.pdf6.5 MBAdobe PDFView/Open
Sasichamon_sa_ch3.pdf4.41 MBAdobe PDFView/Open
Sasichamon_sa_ch4.pdf7.98 MBAdobe PDFView/Open
Sasichamon_sa_ch5.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open
Sasichamon_sa_ch6.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open
Sasichamon_sa_back.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.