Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41758
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิรัตน์ เพ็ชรศิริ
dc.contributor.authorศรีสวัสดิ์ มณีวงศ์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2014-03-23T06:37:34Z
dc.date.available2014-03-23T06:37:34Z
dc.date.issued2550
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41758
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractการลงโทษเป็นกระบวนการใช้มาตรการทางกฎหมายควบคุมสังคม เพื่อจำกัดขอบเขตความ ประพฤติของแต่ละบุคคลในการรักษาไว้ ซึ่งความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ศีลธรรมอันดี และเสถียรภาพทางสังคม ซึ่งการลงโทษนั้นจะมีสถานเบาไปถึงสถานหนัก โดยจะมีตั้งแต่โทษปรับ จนไปถึงโทษประหารชีวิต ทั้งนี้การลงโทษประหารชีวิตเป็นรูปแบบการลงโทษที่เก่าแก่และรุนแรงที่สุด ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยสังคมดั้งเดิมจนกระทั้งถึงทุกวันนี้ สำหรับประเทศไทย และประเทศลาวนั้น ก็เป็น ประเทศที่ยังคงไว้ซึ่งโทษประหารชีวิต แต่ก็ได้มีการพัฒนาและปรับเปลี่ยนวิธีการประหารชีวิตเรื่อยมา โดยหวังจะทำให้เป็นวิธีการประหารชีวิตที่ดูเหมือนว่าไม่เป็นการทารุณโหดร้าย ไร้มนุษยธรรม และทำให้ผู้ถูกประหารชีวิตเสียชีวิตโดยเร็วและไม่ทรมาน แต่อย่างไรก็ตาม การประหารชีวิตนั้นไม่ว่าจะใช้วิธีการประหารชีวิตแบบไหน อย่างไร สุดท้ายวัตถุประสงค์หลักก็คือทำให้ผู้ถูกประหารนั้นเสียชีวิตเช่นเดิม ฉะนั้นปัญหาที่สำคัญในการบังคับโทษประหารชีวิต ก็คือวิธีการ และขั้นตอนซึ่งเป็นกระบวนการที่จะยืนยันความถูกต้องในการประหารชีวิต โดยจะทำให้ไม่มีการประหารชีวิตผู้บริสุทธิ์และไม่มีการประหารชีวิตผิดตัว วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ศึกษาเปรียบเทียบการบังคับโทษประหารชีวิตระหว่างประเทศไทยกับประ เทศลาว พบว่ามีความคล้ายคลึงและแตกต่างกัน และขั้นตอนการประหารชีวิตของแต่ละประเทศนั้นมีทั้งข้อดีและข้อเสีย จากการศึกษาพบว่าปัจจุบันประเทศลาวยังไม่มีกฎหมายที่บัญญัติเกี่ยวกับวิธีการและขั้นตอน การบังคับโทษประหารชีวิตไว้อย่างชัดเจน และยังมีข้อด้อยอยู่หลายประการ ไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนการตระเตรียมหรือขั้นตอนการประหารก็เช่นกัน ซึ่งจะเป็นช่องว่างในการทุจริตได้ง่ายหรืออาจมีโอกาสที่จะประหารผิดตัวได้มาก ผู้เขียนได้เสนอให้มีการปรับปรุง แก้ไขบรรดากฎหมาย และพระราชบัญญัติที่ เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดขั้นตอน และวิธีการประหารชีวิตให้มีความสอดคล้องเหมาะสมโดย เทียบเคียงกับ นานาอารยะประเทศ
dc.description.abstractalternativePunishment is a process of enforcement applied as sanction to human behaviors. It is used mostly for the maintenance of social order, safety, morality and stability. Penalty come in various forms such as fine as one of the lenient measure to death penalty as the most severe one. The latter is of the most ancient and the most brutal form of punishment which is still in practice in many parts of the world. Thailand and Lao PDR retain death penalty but the methods and means to inflict death upon the offenders changed over period of time. Improvements were made in order to eliminate cruelty and inhumane natures of death penalty of the past. Swift application and reduction of pain and suffering were deemed as the most desirable mode of application. However, death sentence by what ever means must bring about the lost of life as final result. Therefore the most important issue of death penalty is the accuracy of the use of the penalty. Methods and procedure to carry out death sentence must be precise and leave no room for any error. Particularly, innocent defendant or person of different identity must not be subjected to mistaken execution. This thesis carries out comparative studies on the process of execution of death penalty used in both Thailand and Laos PDR. It finds that there are similarities and differences among the two countries and there existed advantages and shortcomings. This study also finds that, at the present time, Lao PDR has not yet promulgated legal provisions specifying clear methods and process of the execution of death penalty. There are shortcomings and ambiguity along the execution process which may result in imprecision and mistake in carry out death sentence. The researcher proposes revision of and amending laws, directives and executive decrees concerning execution of death penalty so that the punishment can be utilized with precision and clarity.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการบังคับโทษประหารชีวิต : ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศลาวen_US
dc.title.alternativeEnfocement of capital punishment : omparison between thailand and LAO P.D.R.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sisavath_ma_front.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open
Sisavath_ma_ch1.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open
Sisavath_ma_ch2.pdf8.61 MBAdobe PDFView/Open
Sisavath_ma_ch3.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open
Sisavath_ma_ch4.pdf5.62 MBAdobe PDFView/Open
Sisavath_ma_ch5.pdf5.9 MBAdobe PDFView/Open
Sisavath_ma_ch6.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open
Sisavath_ma_back.pdf4.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.