Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41843
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิฏราธร จิรประวัติ
dc.contributor.authorอุมาพร ภักดีวงศ์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
dc.date.accessioned2014-03-25T11:21:11Z
dc.date.available2014-03-25T11:21:11Z
dc.date.issued2550
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41843
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและเปรียบเทียบความคิดเห็นโดยรวมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการสื่อสารการตลาดในโรงเรียน 2) ศึกษาและเปรียบเทียบทัศนคติของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการสื่อสารการตลาดในโรงเรียนประเภทต่างๆ และ 3) ศึกษาและเปรียบเทียบความต้องการการกำกับดูแลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการสื่อสารการตลาดในโรงเรียนประเภทต่างๆ โดยใช้การวิจัยเชิงสำรวจกับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการสื่อสารการตลาดในโรงเรียนจำนวน 4 กลุ่ม อันได้แก่ กลุ่มผู้บริหารโรงเรียนและครู กลุ่มผู้ปกครอง กลุ่มผลักดันทางสังคม และกลุ่มผู้ประกอบการที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 248 คน ผลการวิจัยพบว่า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียส่วนใหญ่มีความคิดเห็นโดยรวมและทัศนคติต่อการสื่อสารการตลาดในโรงเรียนในระดับปานกลาง ในขณะที่มีความต้องการการกำกับดูแลการสื่อสารการตลาดในโรงเรียนในปริมาณมาก นอกจากนี้ยังพบว่า ความคิดเห็นโดยรวม ทัศนคติ และความต้องการการกำกับดูแลต่อการสื่อสารการตลาดในโรงเรียนของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างกลุ่มกันมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และทัศนคติและความต้องการการกำกับดูแลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการสื่อสารการตลาดในโรงเรียนต่างประเภทกันแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the current research were to: 1) study and compare stakeholders’ opinions on in-school marketing communications 2) study and compare stakeholders’ attitudes toward different types of in-school marketing communications and 3) study and compare stakeholders’ demands for regulation of different types of in-school marketing communications. The survey research was conducted by using questionnaires with 248 samples of four stakeholder groups which were school administrators and teachers, parents, social interest groups and marketing practitioners in Bangkok Metropolitan area. The results found that majority of the stakeholders had neutral overall opinion and attitude toward in-school marketing communications while demanded for regulation at high level. In addition, overall opinion, attitude toward in-school marketing communications and demand for regulation among four groups of stakeholder were significantly different at 0.05. Moreover, their attitudes toward different types of in-school marketing communications were significantly different at 0.05 and also their demands for regulation of different types of in-school marketing communications were significantly different at 0.05.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleทัศนคติและความต้องการการกำกับดูแลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการสื่อสารการตลาดในโรงเรียนen_US
dc.title.alternativeStakeholder's attitude toward in-school marketing communications and demand for regulationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการโฆษณาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Umaporn_pa_front.pdf1.79 MBAdobe PDFView/Open
Umaporn_pa_ch1.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open
Umaporn_pa_ch2.pdf12.2 MBAdobe PDFView/Open
Umaporn_pa_ch3.pdf3.1 MBAdobe PDFView/Open
Umaporn_pa_ch4.pdf5.38 MBAdobe PDFView/Open
Umaporn_pa_ch5.pdf6.69 MBAdobe PDFView/Open
Umaporn_pa_back.pdf4.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.