Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4184
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยศิริ ปัณฑิตานนท์-
dc.contributor.authorนพปฎล เหลืองรุ่งโรจน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-09-18T10:02:01Z-
dc.date.available2007-09-18T10:02:01Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743334246-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4184-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้กล่าวถึงการวิเคราะห์และออกแบบตำแหน่งอักขระภาษาไทยบนแผงแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อเวลาที่ใช้ในการป้อนข้อมูลอักขระภาษาไทยเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ทางแผงแป้นพิมพ์ จากการศึกษาวิธีการออกแบบตำแหน่งอักขระของแผงแป้นพิมพ์ภาษาต่างประเทศซึ่งใช้กฎศึกษาสำนึก นำมาสร้างโปรแกรมเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ หลังจากนั้นการเก็บค่าความถี่ของอักขระและคู่อักขระภาษาไทยจากข้อมูลจำนวน 200,000 อักขระเพื่อใช้เป็นข้อมูลป้อนให้แก่โปรแกรมใช้ในการวิเคราะห์และออกแบบตำแหน่งอักขระภาษาไทยแผงแป้นพิมพ์ จากผลการออกแบบที่ได้นำมาเปรียบเทียบผลการออกแบบโดยใช้การวัด 2 แบบ คือเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ จากการวัดผลเชิงปริมาณพบว่า ตำแหน่งอักขระที่ออกแบบใหม่เมื่อนำไปเปรียบเทียบกับแผงแป้นพิมพ์แบบมาตรฐาน (แบบเกษมณี) โดยการคำนวณจากข้อมูลอัตราเร็วในการพิมพ์ของอาสาสมัครจำนวน 30 คนสามารถลดเวลาในการป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ทางแผงแป้นพิมพ์ได้คิดเป็นร้อยละ 10.64 ด้วยความเชื่อมั่นทางสถิติร้อยละ 85 และสามารถลดระยะทางการเคลื่อนที่ของปลายนิ้วได้ถึงร้อยละ 27.84en
dc.description.abstractalternativeThis thesis presents an alternative Thai computer keybord layout with the aim of reducing the keying time. In this study heuristic rules of foreign keyboard layout design were applied using a somputer program. Thai character and digraph frequencies from a database of 200,000 characters were the input of the program to design a Thai computer keyboard layout. The resulting layout was analysed in 2 ways quantitatively and quantitatively. The quantitative analysis consisted of typists' responses when comparing the new layout with the Kesmanee standard layout. In the test, the keying speed of 30 volunteers were collected; the new layout showing a 10.64% reduction in typing time with 85% significance and a 27.84% reduction in finger travelling distanceen
dc.format.extent10008210 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแผงแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ -- การออกแบบen
dc.subjectระบบคน-เครื่องen
dc.subjectอุปกรณ์รับเข้า-ส่งออกen
dc.titleการวิเคราะห์และออกแบบตำแหน่งอักขระภาษาไทยบนแผงแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์en
dc.title.alternativeAnalysis and design of Thai computer keyboard layouten
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorchaisiri@cp.eng.chula.ac.th, Chaisiri.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nopphapadol.pdf6.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.