Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41927
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ พรอุปถัมภ์-
dc.contributor.authorวรัญญา พรหมมาศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี-
dc.date.accessioned2014-03-25T12:39:42Z-
dc.date.available2014-03-25T12:39:42Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41927-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บช.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการกำไร อายุของบริษัท และระยะเวลาในการออกรายงานของผู้สอบบัญชีกับปัญหาการดำเนินงานต่อเนื่อง กลุ่มตัวอย่าง คือ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระหว่างปี 2544 – 2549 ยกเว้นบริษัทในกลุ่มธุรกิจการเงิน การศึกษาครั้งนี้ใช้เทคนิคการจับคู่ (Match-paired sample) ของตัวแปรตามระหว่างบริษัทที่ได้รับรายงานของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับปัญหาการดำเนินงานต่อเนื่องและบริษัทที่ได้รับรายงานของผู้สอบบัญชีประเภทอื่น ตัวแปรที่สนใจศึกษาประกอบด้วย การจัดการกำไรผ่านรายการคงค้างที่ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้บริหาร ซึ่งคำนวณจากตัวแบบจำลอง Modified Jones (1991) อายุของบริษัท และระยะเวลาในการออกรายงานของผู้สอบบัญชี การศึกษาครั้งนี้ใช้สถิติเชิงพรรณนา (ความถี่ ร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน) และสถิติเชิงอนุมาน (การวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติค) ในการวิเคราะห์ข้อมูล การศึกษาครั้งนี้ พบว่า ณ ระดับความเชื่อมั่น 95 % การจัดการกำไรมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความน่าจะเป็นที่ผู้สอบบัญชีจะไม่แสดงความเห็น เนื่องจากปัญหาการดำเนินงานต่อเนื่องของกิจการ นอกจากนี้ผลการศึกษายังพบว่า อัตราส่วนกำไรสุทธิต่อสินทรัพย์รวม อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนต่อสินทรัพย์รวม อัตราส่วนหนี้สินระยะยาวต่อสินทรัพย์รวม อัตราส่วนกระแสเงินสดจากการดำเนินงานต่อหนี้สินรวม ปัญหาทางการเงิน และขนาดของบริษัทมีความสัมพันธ์กับความน่าจะเป็นที่จะได้รับรายงานของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับปัญหาการดำเนินงานต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามอายุของบริษัทและระยะเวลาในการออกรายงานของผู้สอบบัญชีไม่มีความสัมพันธ์กับความน่าจะเป็นที่จะได้รับรายงานของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับปัญหาการดำเนินงานต่อเนื่อง-
dc.description.abstractalternativeThe main objective of this thesis is to study the relationship among earnings management, firm ages, auditor’s report lag and going concern audit opinions. The sample was listed companies in the Stock Exchange of Thailand for the period of 2001 – 2006, excluding all the firm in the financial institution sectors. The study adopted a match-paired sample technique using total assets and industry sector as criteria to match between going concern opinions and other types of auditor’s reports. Studying variables consist of earnings management measured by discretionary accruals using the modified Jones model, firm ages, and auditor’s report lag. Not only descriptive statistics (frequency, percentage, minimum, maximum, mean and standard deviation) but also inferential statistics (Logistic regression) are used to analyze the data. At 95 % of confidence interval, the higher earnings management due to going concern problem, the higher probability that auditors are more likely to issue disclaimer audit opinions. In addition, net income to total assets ratio, net working capital ratio, long term debt to total assets ratio, operating cash flow to total liabilities ratio, default status, and firm size are statistically significant to predict going concern audit reports. However, the study did not find the relationship of firm ages, auditor’s report lag and going concern audit opinions.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.934-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectรายงานของผู้สอบบัญชี-
dc.subjectบริษัทมหาชน-
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการกำไร อายุของบริษัท และระยะเวลาในการออกรายงานของผู้สอบบัญชีกับปัญหาการดำเนินงานต่อเนื่องของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeThe relationship among earnings management, firm ages, auditor's report lag and going concern audit opinion of listed in the Stock Exchange of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบัญชีมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการบัญชีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.934-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Waranya_pr_front.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open
Waranya_pr_ch1.pdf4.48 MBAdobe PDFView/Open
Waranya_pr_ch2.pdf16.35 MBAdobe PDFView/Open
Waranya_pr_ch3.pdf9.21 MBAdobe PDFView/Open
Waranya_pr_ch4.pdf10.45 MBAdobe PDFView/Open
Waranya_pr_ch5.pdf6.91 MBAdobe PDFView/Open
Waranya_pr_back.pdf8.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.