Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41984
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐสุดา เต้พันธ์-
dc.contributor.authorจิรีรัตน์ สิทธิวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2014-03-27T06:46:02Z-
dc.date.available2014-03-27T06:46:02Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41984-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การเห็นคุณค่าในตนเองภายหลังการเข้าร่วมกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฏการณ์วิทยาเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกในผู้ให้ข้อมูลจำนวน 12 คน ผลวิเคราะห์ข้อมูลพบประเด็นหลักทั้งหมด 3 ประเด็น ดังนี้ 1. การพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเอง ประกอบด้วย การรับรู้ถึงบรรยากาศที่อบอุ่นและปลอดภัยที่เกิดขึ้นภายในกลุ่ม การมีโอกาสในการสำรวจตนเอง และการเกิดขึ้นของการยอมรับตนเอง 2. ความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับบุคคลอื่น เอื้อให้เกิดการเห็นคุณค่าในตนเองประกอบด้วย การได้รับการยอมรับจากบุคคลอื่น ทำให้ตนเองรู้สึกมีคุณค่า และการมองเห็นคุณค่าของบุคคลอื่นที่มีบทบาทต่อชีวิตตน 3. การเปลี่ยนแปลงในตนเองที่เกิดขึ้น ประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงในตนเองด้านพฤติกรรม และการเปลี่ยนแปลงภายในตนเองด้านความคิด และมุมมองในชีวิต ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการทำความเข้าใจประสบการณ์การเห็นคุณค่าในตนเองภายหลังจากเข้าร่วมกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธในสภาพการณ์ที่สมาชิกกลุ่มมาจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำen_US
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to examine self - esteem of middle school students with low academic achievement after their participation in buddhist personal growth and counseling group. A phenomenological qualitative research method was employed. Data were collected via in-depth interviews with 12 participants. Findings revealed 3 major themes as follow: 1) Development of self-awareness: Perceived group climate of warmth and security, having an opportunity to explore self and themselves and enhancing self-acceptance. 2) Interpersonal relationship facilitates and improves self-esteem: Acceptance from others and Appreciating the value of others in their lives. 3) Intra-personal development: Changing in behavior and self-concept level. These research findings could be applied to understand the experience of self - esteem experience of middle school students with low academic achievement and the effect of buddhist personal growth and counseling group participation of these participants.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1218-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มen_US
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มสำหรับวัยรุ่นen_US
dc.subjectความนับถือตนเองในวัยรุ่นen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectพุทธศาสนา -- จิตวิทยาen_US
dc.subjectGroup counselingen_US
dc.titleประสบการณ์การเห็นคุณค่าในตนเองภายหลังการเข้าร่วมกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำen_US
dc.title.alternativeSelf-esteem experience of middle school students with low academic achievement after buddhist personal growth and counseling group participationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisortnattasuda@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1218-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jireerat_si.pdf4.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.