Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42121
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง-
dc.contributor.authorจินดาอร เจิ้นสว่าง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2014-04-04T07:53:34Z-
dc.date.available2014-04-04T07:53:34Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42121-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา ณ จุดเวลาใดเวลา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตมโนทัศน์ การแก้ปัญหา พฤติกรรมก้าวร้าว และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตมโนทัศน์ การแก้ปัญหา พฤติกรรมก้าวร้าวของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 ของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จำนวน 101 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบวัดอัตมโนทัศน์ (Tennessee Self-concept Scale) แบบประเมินการแก้ปัญหา (Problem-Solving Inventory-PSI) และแบบวัดพฤติกรรมก้าวร้าว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, t-test , One way ANOVA และ The Spearman Rank Difference Method ผลการวิจัยพบว่า อัตมโนทัศน์ การแก้ปัญหาและพฤติกรรมก้าวร้าวของกลุ่มตัวอย่าง มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 267.24, 109.42 และ 92.82 ตามลำดับ ผู้วิจัยได้ทำการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย กับงานวิจัยอื่นพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอัตมโนทัศน์และการแก้ปัญหาต่ำกว่ากลุ่มตัวอย่างอื่น และมีพฤติกรรมก้าวร้าวสูงกว่ากลุ่มตัวอย่างอื่น สถานภาพทางครอบครัวมีความเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมก้าวร้าวของนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อัตมโนทัศน์ด้านศีลธรรมจรรยาและ อัตมโนทัศน์ด้านพฤติกรรมมีความสัมพันธ์กับการแก้ปัญหา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และการแก้ปัญหามีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมก้าวร้าว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this cross-sectional descriptive study was to study about the self-concept, problem-solving, aggressive and the factor related to self-concept, problem-solving and aggressive behavior of college students in Bangkok. Data were collected from 101 students at the 1st - 4th year students of a university in Bangkok. The research measurements were demographic data questionnaire. The Tennessee self-concept scales, problem-solving inventory-PSI and aggressive measure. Statistical analyses included percentage, mean, standard deviation, t-test, One way ANOVA and The Spearman Rank Difference Method. The results of this study showed that the mean of the self-concept, problem-solving and aggressive behavior scores were 267.24, 109.42 and 92.82 respectively. The researcher compared with other research found that the self-concept, problem solving were lower than the other samples and aggressive behavior was higher than other samples. The factors related to aggressive behavior were status of the family (p < 0.05). Moral and behavior of self concept were related to problem-solving (p < 0.05). Problem-solving was related to aggressive behavior (p < 0.01).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.714-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการแก้ปัญหาen_US
dc.subjectการรับรู้ตนเองen_US
dc.subjectความก้าวร้าวen_US
dc.subjectนักศึกษา -- ไทย -- กรุงเทพฯ -- จิตวิทยาen_US
dc.subjectProblem solvingen_US
dc.subjectSelf-perceptionen_US
dc.subjectAggressivenessen_US
dc.subjectCollege students -- Thailand -- Bangkok -- Psychologyen_US
dc.titleอัตมโนทัศน์การแก้ปัญหาและพฤติกรรมก้าวร้าวของนักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeSelf-concept, problem-solving and aggressive behavior of college students in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.714-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jindaorn_je.pdf2.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.