Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42240
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศันสนีย์ เณรเทียน-
dc.contributor.authorนาเดีย กองเป็ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2014-04-28T06:48:44Z-
dc.date.available2014-04-28T06:48:44Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42240-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษามโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ กระบวนการแอบสแตรกชัน 2. เปรียบเทียบมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการแอบสแตรกชันกับกลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ 3. ศึกษาความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการแอบสแตรกชัน 4. เปรียบเทียบความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรม การเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการแอบสแตรกชันกับกลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ 5. เปรียบเทียบความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ก่อนและหลังจากที่ได้รับการจัด กิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการแอบสแตรกชัน กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนวัดราชโอรสกรุงเทพมหานครภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 จำนวน 99 คนซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มทดลองซึ่งได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการแอบสแตรกชันจำนวน 50 คนและ กลุ่มควบคุมซึ่งได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติจำนวน 49 คนเครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือแผนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้โดยใช้กระบวนการแอบสแตรกชันและแผนการกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติที่ครอบคลุมเนื้อ หาวิชาคณิตศาสตร์เรื่องอัตราส่วนและร้อยละ ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบทดสอบวัดมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ที่มีค่าความ เที่ยงเท่ากับ 0.817และแบบวัดความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ฉบับก่อนการทดลองและหลังการทดลองที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.63 และ 0.74ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิตส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที (t–test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการแอบสแตรกชันมีมโนทัศน์ทาง คณิตศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำที่กำหนดโดยกระทรวงศึกษาธิการคือสูงกว่าร้อยละ 50 ของคะแนนสอบทั้ง ฉบับ 2. นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการแอบสแตรกชันมีมโนทัศน์ทาง คณิตศาสตร์สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการแอบสแตรกชันมีความสามารถ ในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำที่กำหนดโดยกระทรวงศึกษาธิการคือ สูงกว่าร้อยละ 50 ของคะแนนสอบทั้งฉบับ 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการแอบสแตรกชันมีความสามารถ ในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ กระบวนการแอบสแตรกชันมีความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research were 1. to study mathematical concepts of eighth grade students being taught by organizing mathematics learning activities using abstraction process. 2. to compare mathematical concepts of eighth grade students between groups being taught by organizing mathematics learning activities using abstraction process and using conventional approach. 3. tostudy mathematical reasoning abilities of eighth grade students being taught by organizing mathematics learning activities using abstraction process. 4. to compare mathematical reasoning abilities of eighth grade students between groups being taught by organizing mathematics learning activities using abstraction process and using conventional approach. 5. to compare mathematical reasoning abilities of eighth grade students before and after being taught by organizing mathematics learning activities using abstraction process. The subjects were eighth grade students in the 2012 academic year at Watratcha-o-rosSchool. They were divided into two groups:an experimental group was taught by organizing mathematics learning activities using abstraction process, which consisted of 50 students, and a control group was taught by organizing mathematics learning activities using conventional approach, which consisted of 49 students.The instruments used in the experiment constructed by the researcher consisted of lesson plans being taught by using abstraction process and lesson plans being taught by conventional approach. The data collection instruments included test of mathematical concept with the reliability 0.817 and tests of mathematical reasoning ability pre-test and post-test with the reliability 0.63 and 0.74 respectively.The data were analyzed by means, arithmetic mean, standard deviation and t-test. The results of the research revealed that : 1. Mathematical concepts of eighth grade students being taught by organizing mathematics learning activities using abstraction process were higher than minimum criteria of 50 percent. 2. Mathematical concepts of eighth grade students being taught by organizing mathematics learning activities using abstraction process were higher than those of students being taught by organizing mathematical instruction activity using conventional approach at .05 level of significance. 3. Mathematical reasoning abilities of eighth grade students being taught by organizing mathematics learning activities using abstraction process were higher than minimum criteria of 50 percent. 4. Mathematical reasoning abilities of eighth grade students being taught by organizing mathematics learning activities using abstraction process were higher than those of students being taught by organizing mathematical instruction activity using conventional approach at .05 level of significance. 5. Mathematical reasoning abilities of eighth grade students after being taught by organizing mathematics learning activities using abstraction process were higher than those of students before being taught at .05 level of significance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.65-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอนen_US
dc.subjectความคิดรวบยอดen_US
dc.subjectMathematics -- Study and teachingen_US
dc.subjectConceptsen_US
dc.titleผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแอบสแตรกชันที่มีต่อมโนทัศน์และความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2en_US
dc.title.alternativeEffects of organizing learning activities using abstraction process on mathematical concept and reasoning ability of eighth grade studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษาคณิตศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSansanee.n@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.65-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nadia_ko.pdf21.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.