Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4228
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorก่อเกียรติ บุญชูกุศล-
dc.contributor.authorรัชตพงษ์ บุญวัตรสกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-09-21T10:10:12Z-
dc.date.available2007-09-21T10:10:12Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743348433-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4228-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractศึกษาพฤติกรรมการสั่นสะเทือนและหารูปแบบของสัญญาณการสั่นสะเทือน ที่สามารถบ่งชี้ถึงการเกิดรอยแตกตามแนวหน้าตัดในเพลา ในการทดลองจะสร้างรอยแตกขึ้นในเพลาโดยให้เพลาแต่ละเส้น มีระดับความลึกของรอยแตกและตำแหน่งของรอยแตกแตกต่างกัน จากนั้นตรวจวัดสัญญาณการสั่นสะเทือนของเพลา ที่มีรอยแตกแต่ละเส้นและเปรียบเทียบกับสัญญาณการสั่นสะเทือน ของเพลาที่ไม่มีรอยแตก การทดลองเป็นสภาวะที่ไม่มีภาระจึงมีเพียงแรง เนื่องจากน้ำหนักของตัวเพลาในแนวดิ่งเท่านั้น ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า เมื่อเกิดรอยแตกตามแนวหน้าตัดขึ้นในเพลาแล้ว จะทำให้สัญญาณการสั่นสะเทือนที่ความถี่ 1 x rpm และ 2 x rpm ในแนวดิ่งมีขนาดเพิ่มขึ้น ในขณะที่สัญญาณการสั่นสะเทือนที่ความถี่ 1 x rpm และ 2 x rpm ในแนวนอนจะมีขนาดคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามระดับความลึก ของรอยแตกที่เพิ่มขึ้น และยังพบว่าเมื่อรอยแตกมีระดับความลึกเพิ่มขึ้น จะสังเกตเห็นการเพิ่มขึ้นของขนาดสัญญาณการสั่นสะเทือนที่ความถี่ 2 x rpm ได้ชัดเจนกว่าสัญญาณการสั่นสะเทือนที่ความถี่ 1 x rpmen
dc.description.abstractalternativeTo study the vibration behavior and the patterns of vibration signals that indicate a transverse crack on a shaft. In the experiments conducted, a crack was created on each shaft. The crack on each of shafts had different depth and was located on different position. Then, the vibration signals of each shaft were investigated and compared with the vibration signals of uncracked shaft. The experiments are no-load condition and have only force due to the shaft weight in the vertical direction. The results of these experiments show that a transverse crack on a shaft causes the increasing in the amplitude of vibration signals at 1 x rpm and 2 x rpm frequency in the vertical direction. But the amplitude of vibration signals at the same frequency in the horizontal direction is constant and does not depend on the inceasing of the crack depth. Moreover, the increasing in the amplitude of vibration signals at 2 x rpm frequency is more clearly change than that of 1 x rpm frequency when the crack depth increases.en
dc.format.extent7852879 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสั่นสะเทือนen
dc.subjectเครื่องจักรกล -- การสั่นสะเทือนen
dc.subjectเพลา -- การสั่นสะเทือนen
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมการสั่นสะเทือนของเพลาที่มีรอยแตกตามแนวหน้าตัดen
dc.title.alternativeStudy of vibration behavior of a shaft containing a transverse cracken
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfmekbc@eng.chula.ac.th, Kaukeart.B@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ratchatapong.pdf5.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.