Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4233
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฉัตรชัย ไวยาพัฒนกร | - |
dc.contributor.author | จริญญา แซ่ตั้ง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2007-09-21T11:31:19Z | - |
dc.date.available | 2007-09-21T11:31:19Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743334629 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4233 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ นำเสนอระเบียบวิธีสื่อสารการส่งซ้ำ-จองซ้ำ ซึ่งมีลักษณะการจัดสรรแบบปรับตัวโดยอาศัยหลักการช่วงชิงแบบส่งซ้ำที่มีจำนวนครั้งในการส่งซ้ำเปลี่ยนแปลงตามปริมาณทราฟฟิกผนวกเข้ากับวิธีการจองช่องสัญญาณดาวเทียมแบบ SRMA (Scheduled-retransmission multiaccess protocol) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มสมรรถนะเวลาประวิงเฉลี่ยในการส่งข่าวสารข้อมูลได้ดีกว่าเดิมแต่ยังคงมีค่าวิสัยสามารถอยู่ในเกณฑ์ที่รับได้ พร้อมทั้งนำเสนอผลการทดสอบสมรรถนะในแง่ของค่าระยะเวลาประวิง เฉลี่ยในการส่งข่าวสารข้อมูล ค่าวิสัยสามารถ ค่าความยุติธรรม และค่าระยะเวลาเฉลี่ยที่สูญเสียไปในการแก้ความผิดพลาดต่อหนึ่งข้อความข่าวสารของระเบียบวิธีสื่อสารการส่งซ้ำ-จองซ้ำ โดยการเปรียบเทียบกับระเบียบวิธีสื่อสารที่เคยมีการนำเสนอมาก่อนหน้านี้สำหรับโครงข่ายสื่อสารข้อมูลผ่านดาวเทียม ผลลัพธ์ที่ได้จากงานวิจัยพบว่า ระเบียบวิธีสื่อสารการส่งซ้ำ-จองซ้ำมีศักยภาพในการลดค่าระยะเวลาประวิงเฉลี่ยในการส่งข่าวสารข้อมูลได้ดีเมื่อมีการใช้จำนวนร่องเวลาเล็กเพื่อการจองต่ำ โดยยังคงค่าวิสัยสามารถสูงสุดของโครงข่ายที่เทียบเท่ากันกับระเบียบวิธีสื่อสาร SRMA และมีความสามารถในการลดค่าระยะเวลาประวิงเฉลี่ยในการส่งข่าวสารข้อมูลที่ดีกว่าเมื่อโครงข่ายมีจำนวนผู้เข้าใช้บริการเพิ่มมากขึ้น สำหรับค่าความยุติธรรมของระเบียบวิธีสื่อสารชนิดนี้จะมีค่าต่ำกว่าระเบียบวิธีสื่อสาร SRMA ในช่วงที่มีการส่งซ้ำแพ็กเกตข้อมูล แต่จะมีค่าเพิ่มมากขึ้นตามจำนวนร่องเวลาเล็กเพื่อการจองที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ระเบียบวิธีสื่อสารการส่งซ้ำ-จองซ้ำยังคงมีค่าระยะเวลาเฉลี่ยที่สูญเสียไปในการแก้ความผิดพลาดต่อหนึ่งข้อความข่าวสารที่ต่ำกว่าระเบียบวิธีสื่อสาร SRMA เนื่องจากกลวิธีการส่งซ้ำแพ็กเกตข้อมูลจะทำให้โอกาสในการแก้ความผิดพลาดประสบผลสำเร็จจากความพยายามในการส่งครั้งแรกมีค่าสูงกว่าการส่งแพ็กเกตข้อมูลเพียงครั้งเดียว | en |
dc.description.abstractalternative | This thesis proposes a novel access protocol, the Multiple Transmission Multiple Reservation protocol, which has adaptive assignment capability. This access protocol is a combination of the multiple transmissions contention technique, when the number of repeating transmissions is varied according to the channel traffic, and the reservation technique of SRMA (scheduled-retransmission multiaccess protocol). The objective of this is to achieve better result in terms of average message delay while maintaining acceptable throughput. This research presents performance comparison in terms of average message delay, throughput performance, fairness and average error recovery delay per message between the Multiple Transmission Multiple Reservation protocol and other protocols that have previously been proposed for packet satellite communication. This research shows that the Multiple Transmission Multiple Reservation protocol gives the good result on average message delay when using small number of overhead minislot and also gives the same result, on throughput performance, as the SRMA protocol. This protocol is more efficient when the number of earth stations is increased. The fairness of the Multiple Transmission Multiple Reservation protocol is lower, than the SRMA protocol during the multiple transmission time. However, the fairness increases in accordance to the increase of overhead minislot times. In addition, the Multiple Transmission Multiple Reservation protocol gives a better result than the SRMA protocol on average error recovery delay per massage because the multiple transmission strategy can achieve higher probability of successfully correcting error from the first attempt than the use of only single transmission. | en |
dc.format.extent | 12899277 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การเข้าถึงแบบหลายทางด้วยการแบ่งเวลา | en |
dc.subject | ดาวเทียมในโทรคมนาคม | en |
dc.title | การประเมินสมรรถนะกลยุทธ์การเข้าถึงหลายทางแบบแบ่งเวลาในโครงข่ายสื่อสารผ่านดาวเทียม | en |
dc.title.alternative | Performance evaluation of time division multiple access strategy in a satellite communication network | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมไฟฟ้า | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Chatchai.W@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
jarinya.pdf | 8.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.