Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42375
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Seeronk Prichanont | - |
dc.contributor.author | Chittapol Sakavutanudej | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering | - |
dc.date.accessioned | 2015-06-23T02:40:05Z | - |
dc.date.available | 2015-06-23T02:40:05Z | - |
dc.date.issued | 2012 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42375 | - |
dc.description | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2012 | en_US |
dc.description.abstract | From business competitiveness and constantly changing consumer behavior, leads to change of business practice to be conformed to current business context. Ready-to-eat product, which has short shelf life, is determined as a strategic product in order to differentiate from competitor and to satisfy customer’s need. Gross profit of fresh product group is also significantly greater than grocery product, so fresh product deserves to be focused. However, the current management of fresh product is not developed to actually suit with product’s characteristic. This leads to waste from excess product and opportunity loss from out of stock problems. From investigation and analysis found that waste form write-off product is very high value and it over the expected value by company at 10% of sale. The current waste is approximately at 16% of sale which excesses the targeted waste. This problem is caused by inappropriate working processes. The objective of this thesis is to propose appropriate working process and managing approach in order to mitigate problems. The methodology of thesis is to access current problems and study successful models of fresh product management, then design the working process with required technology support which suits the product’s characteristic. The result from designed process found that, the appropriate managing approach for fresh product group is empowering with sufficient supporting information. New ordering device also would enhance accuracy of decision from friendly information analysis interface. Moreover, the collaboration establishment would increase efficiency of operation and minimize costs from having same goals and objectives. The deliverables from this study are the proposed working processes of fresh product management. The implementation result is not scoped in this study as it is a big change project which requires high investment, time and committee’s approval. However, from pilot test implementation result by fully controlled ordering process by headquarter showed that waste was reduced approximately 4% of sale. So this result was implied conservatively as a minimum waste reduction rate from new ordering process. When including with other improvements in this study, the expected waste reduction rate would be approximate at 10% from current at 16% of sale. The author expects that this thesis study would be a practical procedure for organization to implement the fresh product management in future. In order to have appropriate working processes those conform to fresh product. Finally the proposed processes/concept would deliver to having right products at right store and always have availability of product to serve customer with an efficient operating system. | en_US |
dc.description.abstractalternative | ด้วยสภาวะการแข่งขันทางธุรกิจและพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลาของผู้บริโภค จึงนำไปสู่การปรับตัวของธุรกิจร้านสะดวกซื้อให้สอดคล้องกลับสภาวะในปัจจุบัน สินค้าอาหารพร้อมทานซึ่งมีอายุสั้นถูกกำหนดให้เป็นสินค้ากลยุทธ์เพื่อสร้างความแตกต่างทางธุรกิจและตอบสนองความต้องการของลูกค้า ทั้งนี้กำไรต่อหน่วยของสินค้าชนิดนี้ยังมีมูลค่าสูงกว่าสินค้าอุปโภคทั่วไป จึงเป็นกลุ่มสินค้าที่ควรได้รับความสนใจ อย่างไรก็ตามการระบบจัดการสินค้าประเภทนี้ยังไม่ถูกพัฒนาให้เหมาะสมกับลักษณะของสินค้าอย่างแท้จริง เป็นเหตุให้ปัญหาสินค้าเกินความจำที่ต้องทิ้งไปในแต่ละวัน และการเสียโอกาสทางการขายจากปัญหาความไม่แม่นยำในการสั่งสินค้า จากการสำรวจและการวิเคราะห์ปัญหาในปัจจุบันพบว่าของเสียที่เกิดจากการทิ้งสินค้าที่หมดอายุไปในแต่วันวันมีมูลค่าสูงมาก และเป็นปริมาณที่เกินกว่าบริษัทได้คาดไว้ที่ร้อยละ10 ของยอดขายแต่ของเสียเกิดอยู่จริงที่ประมาณร้อยละ 16 โดยทั้งหมดเกิดจากกระบวนการทำงานในปัจจุบันที่ไม่เหมาะสม วัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงเป็นการเสนอกระบวนการจัดการสินค้าอาหารสดที่เหมาะสมเพื่อลดปัญหาดังที่กล่าวมา โดยการศึกษาปัญหาของกระบวนการทำงานในปัจจุบันและศึกษาจัดการสินค้าอายุสั้นที่ประสบความสำเร็จของร้านสะดวกซื้อในต่างประเทศ แล้วออกแบบกระบวนการที่เหมาะสมกับสภาวะทางธุรกิจในปัจจุบันของบริษัท ขอบเขตของวิทยานิพนธ์นี้เป็นการออกแบบแนวทางการทำงานรวมถึงกระบวนการทำงานพร้อมกับเทคโนโลยีที่จะมาสนับสนุนการทำงานเพื่อให้มีกระบวนการที่สามารถจัดการสินค้าประเภทนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและอย่างเหมาะสม จากการศึกษาและออกแบบพบว่าแนวคิดที่เหมาะสมในการจัดการสินค้าประเภทนี้คือการให้อำนาจในการตัดสินใจโดยให้ข้อมูลสนับสนุนอย่างเพียงพอ รวมถึงการนำอุปกรณ์การสั่งแบบใหม่ที่สามารถช่วยให้ทำการตัดสินใจได้ดีขึ้นจากข้อมูลที่ง่ายต่อการวิเคราะห์ นอกจากนี้กระบวนการที่ยึดเป้าหมายรวมของห่วงโซ่อุปทานโดยการร่วมมือกันของผู้เกี่ยวข้องทั้งหมดก็จะช่วยให้การทำงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและมีต้นทุนที่ต่ำลงในระยะยาว โดยผลลัพธ์ที่ได้จากการศึกษานี้จะเป็นแนวคิดและกระบวนการทำงานทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง ผลจากการนำไปปฏิบัติงานจริงจะไม่รวมอยู่ในการศึกษานี้เนื่องจากเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ต้องอาศัยการลงทุนสูงและใช้เวลายาวนานและการอนุมัติการผู้บริหารระดับสูง อย่างไรก็ตามจากการคาดการณ์โดยใช้ข้อมูลการทดลองในร้านนำร่องของสำนักงานใหญ่ที่ได้ควบคุมขั้นตอนการสั่งสินค้าภายใต้กระบวนการปัจจุบันให้เป็นไปอย่างถูกต้องพบว่าสามารถลดของเสียเฉลี่ยไปได้เป็นร้อยละ 4 จึงนำเอาผลการทดลองนี้มาเป็นเกณฑ์ประเมินขั้นต่ำในการประเมินอัตราของเสียที่จะลดลงหลังจากนำไปใช้งานจริง เมื่อรวมกับการแก้ปัญหาในจุดอื่นๆ คาดว่าของเสียโดยรวมจะลดลงเหลืออยู่ที่ประมาณ ร้อยละ 10 ของยอดขายจากปัจจุบันอยู่ที่ประมาณร้อยละ 16 ซึ่งคาดว่ากระบวนการทำงานที่ออกแบบไว้จะสามารถเป็นแนวทางการทำงานที่เหมาะสมสำหรับองค์กรที่จะนำไปปฏิบัติจริงในการจัดการสินค้ากลุ่มนี้ในอนาคต ให้มีสินค้าที่เหมาะสม ในร้านที่เป็นเป้าหมายอย่างแท้จริง และมีสินค้าพร้อมที่จะบริการลูกค้าอยู่เสมอ ภายใต้กระบวนการที่มีประสิทธิภาพและมีต้นทุนที่น้อยที่สุดเท่าทีเป็นไปได้ | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Convenience stores | en_US |
dc.subject | Commercial products | en_US |
dc.subject | ร้านค้าสะดวกซื้อ | en_US |
dc.subject | สินค้า | en_US |
dc.title | Improving efficiency of fresh product management system in convenience store | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนาประสิทธิภาระบบการจัดการสินค้าอายุสั้นของธุรกิจร้านสะดวกซื้อ | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Engineering | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Engineering Management | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | Seeroong.P@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
chitttapol_sa.pdf | 5.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.