Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42384
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมยศ ศรีสถิตย์-
dc.contributor.advisorนเรศร์ จันทน์ขาว-
dc.contributor.authorจุมพฏ จำเนียร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-06-23T02:54:43Z-
dc.date.available2015-06-23T02:54:43Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42384-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการกำบังรังสีจากห้องถ่ายภาพด้วยรังสีเอกซ์นั้นจำเป็นต้องทำให้แน่ใจว่าบุคคลภายนอกห้องจะได้รับปริมาณรังสีเอกซ์ไม่เกินมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งได้แก่ ผู้ปฏิบัติงานทางด้านรังสีหรือบุคคลทั่วไปที่เข้ามาใช้งานบริเวณพื้นที่ที่อยู่ติดกับห้องถ่ายภาพด้วยรังสีเอกซ์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบกำบังรังสีเอกซ์จากห้องถ่ายภาพด้วยรังสีในงานอุตสาหกรรมให้ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพโดยใช้การทดลองและเทคนิคการคำนวณ ได้เลือกใช้แผ่นคอนกรีตที่จัดเตรียมขึ้นเพื่อเก็บชุดข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการคำนวณ ในการทดลองคำนวณผนังคอนกรีตได้กำหนดข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ และข้อมูลบริเวณโดยรอบห้องถ่ายภาพด้วยรังสีเอกซ์ ซึ่งจัดแบ่งผนังห้องออกเป็น 2 ประเภท คือ ผนังห้องด้านที่รับรังสีปฐมภูมิ สามารถกำบังลำรังสีเอกซ์ได้ถึง 180 kVp และผนังห้องด้านที่รับรังสีทุติยภูมิ สามารถกำบังรังสีจากการกระเจิงและการรั่วของรังสีเอกซ์ ชุดข้อมูลต่าง ๆ จากการทดลองถูกรวมเข้าไปในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นสำหรับคำนวณความหนาของผนังห้อง ผลการคำนวณความหนาของผนังห้องถ่ายภาพด้วยรังสีเอกซ์จากงานวิจัยนี้ทำให้แน่ใจได้ว่าเพียงพอสำหรับความปลอดภัยทางรังสีในบริเวณพื้นที่ทำงานen_US
dc.description.abstractalternativeX-ray rooms are shielded as necessary to make sure that radiation doses to persons outside the room do not exceed state limits for radiation workers or members of the public, based on who has access to the areas next to the x-ray room. This work aims to design an x-ray radiographic room shielding for industrial radiation imaging. There is the effectiveness for radiation safety using both experimental and calculation techniques. The provided concrete wall was selected for testing the necessary shielding data sets. The surrounding area of the x-ray room could be given by simulation. The barrier of x-ray room from calculation was divided into two classes. First, the primary barrier wall could protect the direct x-ray beam up to 180 kV. The second is secondary barrier wall that protect secondary radiation such as scatter and leakage. The data sets from experimental were integrated into developed computer program for concrete barrier thickness calculation. Calculation resulted from this work was ensured for radiation safety in working area.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1000-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectรังสีเอกซ์en_US
dc.subjectคอนกรีตen_US
dc.subjectX-raysen_US
dc.subjectConcreteen_US
dc.titleการคำนวณความหนาของผนังคอนกรีตสำหรับห้องถ่ายภาพด้วยรังสีเอกซ์ในงานอุตสาหกรรมen_US
dc.title.alternativeCalculation of concrete wall thickness for industrial x-ray radiography roomen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSomyot.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorfnenck@eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1000-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jumpot_ja.pdf3.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.