Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42416
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรพันธ์ จินตนาภักดี-
dc.contributor.advisorธีรพันธ์ อรธรรมรัตน์-
dc.contributor.authorภควัสน์ มีนชัยนันท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-06-23T03:54:52Z-
dc.date.available2015-06-23T03:54:52Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42416-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractในกรณีที่วิศวกรต้องทำการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีเชิงพลศาสตร์แบบประวัติเวลา วิศวกรจำเป็นต้องใช้ข้อมูลอัตราเร่งของพื้นดินในการจำลองให้แผ่นดินไหวกระทำต่อโครงสร้าง แต่ในปัจจุบันวิศวกรในประเทศไทยยังไม่มีฐานข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหวที่สามารถนำไปใช้ได้โดยสะดวก การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดเตรียมฐานข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหวสำหรับให้วิศวกรสามารถนำไปใช้ในการวิเคราะห์และออกแบบอาคารในประเทศไทย โดยมีการแยกแยะความเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวจากแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวต่างๆ โดยพิจารณาว่าแหล่งกำเนิดใดมีผลต่อความน่าจะเป็นมากที่สุด ในการเกิดการสั่นไหวของพื้นดินเกินระดับความรุนแรงที่ระบุในแผนที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวและพิจารณาขนาดและระยะทางของแผ่นดินไหวจากแหล่งกำเนิดนั้น ที่มีผลต่อความน่าจะเป็นมากที่สุด เพื่อให้ทราบลักษณะเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่มีโอกาสมากที่สุดที่จะส่งผลกระทบต่อพื้นที่ที่ตั้งอาคาร เพื่อที่จะสามารถคัดเลือกข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหวจากฐานข้อมูลแผ่นดินไหวของต่างประเทศที่สอดคล้องกับสถานการณ์แผ่นดินไหวในแต่ละพื้นที่ของประเทศไทย จากนั้นคัดเลือกข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหวในรูปของอัตราเร่งของพื้นดินจากฐานข้อมูลของศูนย์วิจัยด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหวแห่งแปซิฟิกที่สอดคล้องกับสถานการณ์แผ่นดินไหวในแต่ละพื้นที่ของประเทศไทยและทำการคูณปรับค่าคลื่นแผ่นดินไหวตามวิธีการที่กำหนดในมาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว (มยผ.1302-52) ให้มีความรุนแรงตามระดับความเสี่ยงที่กำหนดในมาตรฐาน โดยมีข้อมูลอัตราเร่งของพื้นดินทั้งสองทิศทางในแนวราบสำหรับพื้นที่อำเภอเมืองของจังหวัดต่างๆ ในภาคเหนือ กาญจนบุรี และกรุงเทพมหานคร ที่จำเป็นต้องพิจารณาผลกระทบของแผ่นดินไหวตามข้อบังคับของกฎกระทรวงเพื่อให้วิศวกรสามารถนำไปใช้ได้โดยสะดวกen_US
dc.description.abstractalternativeWhen structural engineers need to use response history analysis in design and evaluation of buildings, ground motion records are necessary. At present, there is no readily available ground motion database for designing structures in Thailand. Therefore, this study aims to provide such a database for convenient use by engineers. The ground motions to be used have to correspond to the earthquake scenario that is likely to occur at the building site. The corresponding seismic source zone, magnitude, and distance are determined from the case with highest contribution to annual rate of ground motion intensity exceeding the level specified in seismic hazard map in the design standard. The process of investigating contribution of seismic hazard from each seismic source, magnitude and distance is called Hazard Deaggregation. The ground motion records were selected from Pacific Earthquake Engineering Research Center (PEER) strong motion database corresponding to the scenarios (magnitude and distance) likely to affect each area in Thailand. They were then scaled to match the target design spectrum for each area according the procedure specified in the building standard of Department of Public Works and Town & Country Planning (DPT 1302-52). Each ground motion record consists of a pair of two horizontal components of ground accelerations. They are prepared for the city center area of all Northern provinces, Kanchanaburi, and Bangkok, which require seismic design of buildings.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1018-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแผ่นดินไหว -- ฐานข้อมูลen_US
dc.subjectอาคาร -- การออกแบบและการสร้างen_US
dc.subjectEarthquakes -- Databasesen_US
dc.subjectBuildings -- Design and constructionen_US
dc.titleฐานข้อมูลแผ่นดินไหวสำหรับใช้ในการออกแบบอาคารen_US
dc.title.alternativeGround motion database for seismic designen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChatpan.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1018-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pakawats _Mi.pdf6.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.