Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42424
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเก็จวลี พฤกษาทร-
dc.contributor.authorสโรชา บุญมีสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-06-23T04:22:31Z-
dc.date.available2015-06-23T04:22:31Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42424-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้ศึกษาหาภาวะที่เหมาะสมในการนำกลับโลหะโมลิบดีนัมจากตัวเร่งปฏิกิริยาเอชดีเอสด้วยวิธีการชะละลายร่วมกับวิธีเคมีไฟฟ้า ตัวแปรที่ศึกษาคือ ชนิดสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ความเข้มข้นของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้า ชนิดขั้วไฟฟ้า และอัตราส่วนระหว่างตัวเร่งปฏิกิริยาเอชดีเอสต่อสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ผลการทดลองได้ภาวะที่เหมาะสมในการนำกลับโมลิบดีนัมคือ กรดซัลฟิวริกที่ความเข้มข้น 2 โมลต่อลิตร ความหนาแน่นกระแสไฟฟ้า 132.70 แอมแปร์ต่อตารางเมตร ขั้วแคโทดคือ คาร์บอน และขั้วแอโนดคือ ไททาเนียมเคลือบรูทิเนียมออกไซด์ อัตราส่วนระหว่างของแข็งต่อสารละลายอิเล็กโทรไลต์คือ 1:20 ให้ปริมาณการละลายของโลหะโมลิบดีนัมสูงสุดที่ 2,287 มิลลิกรัม ในเวลา 180 นาที เมื่อทำการเปรียบเทียบปริมาณการชะละลายของโลหะโมลิบดีนัมที่สามภาวะการทดลอง คือ การชะละลายโดยตรง การชะละลายที่บรรจุตัวเร่งปฏิกิริยาไว้ภายในถุงผ้าโดยไม่ใส่กระแสไฟฟ้า และการชะละลายที่บรรจุตัวเร่งปฏิกิริยาไว้ภายในถุงผ้าโดยจ่ายกระแสไฟฟ้า พบว่าการจ่ายกระแสไฟฟ้าสามารถทำให้โลหะโมลิบดีนัมชะละลายได้ดีขึ้น แต่ปริมาณโลหะในสารละลายน้อยกว่าการชะละลายโดยตรง เนื่องจากการบรรจุตัวเร่งปฏิกิริยาเอชดีเอสภายในถุงผ้าทำให้ตัวอย่างของตัวเร่งปฏิกิริยาไม่ได้สัมผัสกับสารละลายโดยตรงและบางส่วนของโลหะโมลิบดีนัมอาจจะเกิดปฏิกิริยารีดักชันแยกที่ขั้วแคโทดen_US
dc.description.abstractalternativeThis research studies the optimum condition for recovery molybdenum from spent hydrodesulphurization (HDS) catalyst by electrochemical method. The studied parameters are types of electrolyte, concentrations of electrolytes, current density, types of electrode and ratio of solid per solvent. The result showed that the optimum condition is 2 mol/L of sulfuric acid, current density 132 A/m2, used carbon as cathode and Ti/RuO2 as anode. Molybdenum could be leached up to 2,287 mg at 180 minutes. To compare leaching method; three method are used: direct leaching, leaching spent HDS catalyst in cloth bag without applying current and leaching spent HDS catalyst in cloth bag with apply current. The results showed that applying current could increase leaching molybdenum more without applying current process but it less than direct leaching process because spent HDS catalyst in cloth bag could not contact directly with solvent.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1023-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโมลิบดีนัมen_US
dc.subjectดีซัลเฟอไรเซชันen_US
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาen_US
dc.subjectการซึมชะละลายen_US
dc.subjectโลหวิทยาสารละลายen_US
dc.subjectเคมีไฟฟ้าen_US
dc.subjectMolybdenumen_US
dc.subjectDesulfurizationen_US
dc.subjectCatalystsen_US
dc.subjectLeachingen_US
dc.subjectHydrometallurgyen_US
dc.subjectElectrochemistryen_US
dc.titleการนำกลับโมลิบดีนัมจากตัวเร่งปฏิกิริยาเอชดีเอสใช้แล้วด้วยวิธีเคมีไฟฟ้าen_US
dc.title.alternativeMolybdenum recovery from spent hds catalyst by electrochemical methoden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorkejvalee@sc.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1023-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sarocha_bo.pdf2.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.