Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42438
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรพันธ์ จินตนาภักดี-
dc.contributor.authorนครินทร์ ดำเนินสวัสดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-06-23T08:35:05Z-
dc.date.available2015-06-23T08:35:05Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42438-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractในการสร้างแผนที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวสำหรับประเทศไทยที่ผ่านมานั้น ยังไม่มีสมการ ลดทอนคลื่นแผ่นดินไหวที่พัฒนาไว้สำหรับพื้นที่บริเวณประเทศไทยโดยเฉพาะ เนื่องจากประเทศ ไทยยังขาดแคลนข้อมูลการสั่นไหวของพื้นดินจากแผ่นดินไหวที่มีขนาดมากกว่า 4.5 และมี ระยะทางจากแหล่งกำเนิดถึงสถานีตรวจวัดไม่เกิน 200 กิโลเมตร จึงต้องใช้สมการที่พัฒนาขึ้น จากต่างประเทศในการประมาณความรุนแรงของการสั่นไหวของพื้นดิน แต่เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2011 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.8 ที่ประเทศพม่า ซึ่งมีจุดกำเนิดค่อนข้างใกล้กับประเทศไทย ห่าง จากอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย เพียง 30 กิโลเมตร ทำให้สถานีตรวจแผ่นดินไหว ของสำนัก เฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา ประเทศไทยสามารถบันทึกข้อมูลการสั่นไหวของพื้นดินที่ ค่อนข้างรุนแรงได้ที่อำเภอแม่สาย และบันทึกการสั่นไหวที่ไม่รุนแรงนักได้ที่หลายสถานี เป็น จำนวนมากพอสมควร จึงทำให้สามารถนำข้อมูลที่ได้ใหม่ ไปใช้ทำการศึกษาและทบทวนสมการ ลดทอนแผ่นดินไหวที่เหมาะสมกับประเทศไทยที่น่าเชื่อถือยิ่งขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ รวบรวมข้อมูลการสั่นไหวของพื้นดินเนื่องจากแผ่นดินไหวที่บันทึกได้ในประเทศไทยจนถึงปัจจุบัน โดยการศึกษานี้แบ่งกลุ่มข้อมูลที่บันทึกได้ ตามลักษณะชั้นดินของที่ตั้งสถานีที่คลื่นถูกบันทึก และแบ่งกลุ่มข้อมูลตามบริเวณการแปรสัณฐานของเปลือกโลกแล้วนำไปวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อ พัฒนาสมการการลดทอนคลื่นแผ่นดินไหวสำหรับประเทศไทย สำหรับใช้ในการประมาณความ รุนแรงของการสั่นไหวของพื้นดิน ได้แก่ ความเร่งสูงสุดของพื้นดิน และความเร่งสเปคตรัม สำหรับคาบธรรมชาติที่ 0.2 และ 1 วินาที ซึ่งคาดว่าจะทำให้สามารถค่าประมาณความรุนแรง ของการสั่นไหวของพื้นดินได้อย่างน่าเชื่อถือมากขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeIn the past, there was no attenuation relationship specifically developed for Thailand to be used in probabilistic seismic hazard analysis when the seismic hazard map was prepared for Thai seismic design code. It was primarily due to the lack of strong ground motion records, e.g., magnitude (Mw) larger than 4.5 and site-to-source distance less than 200 km, in Thailand. Therefore, existing attenuation models developed from data in other regions had to be adopted. However, there was an earthquake with Mw=6.8 occurred in Myanmar on March 24, 2011 and its epicenter was located only 30 km away from Mae Sai district in Chiang Rai province, Thailand. The seismic recording stations of Thai Meteorological Department (TMD) were able to record a strong ground motion at Mae Sai and several moderate ground motions at many stations through-out the country. These new data provide an opportunity to study and review the attenuation model that is appropriate for Thailand region. This research thus aims to collect all available recorded ground motions in the Thailand up to present, and use them to develop attenuation equations to estimate ground motions, e.g., peak ground acceleration and spectral acceleration, in Thailand region. The data are classified as being recorded on rock or soil site, and categorized according to the corresponding Plate tectonics. The spectral acceleration was calculated for natural period for 0.2 and 1 seconds The results are expected to provide more reliable estimation of ground motion intensity for Thailand region.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1030-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแผ่นดินไหวen_US
dc.subjectสมการen_US
dc.subjectEarthquakesen_US
dc.subjectEquationsen_US
dc.titleสมการลดทอนเพื่อประมาณค่าการสั่นไหวของพื้นดินเนื่องจากแผ่นดินไหวสำหรับประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeAttenuation equations to estimate ground motions for Thailand / Nakarin Damnernsawaten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChatpan.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1030-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nakarin _Da.pdf23.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.