Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42446
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรทัย ชวาลภาฤทธิ์ | - |
dc.contributor.author | กฤษดาภรณ์ รักษ์วงศ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2015-06-23T08:44:07Z | - |
dc.date.available | 2015-06-23T08:44:07Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42446 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการปรับสภาพสลัดจ์จากระบบบำบัดน้ำเสียแบบแอกทิเวเต็ดสลัดจ์โดยกระบวนการรวมตะกอนด้วยไฟฟ้าที่มีต่อค่าความต้านทานจำเพาะของการกรอง โดยทำการศึกษาชนิดของขั้วไฟฟ้า 3 ชนิด คือ อลูมิเนียม-แกรไฟต์ ทองแดง-แกรไฟต์ และแกรไฟต์-แกรไฟต์ ระยะห่างระหว่างขั้วไฟฟ้า 1-4 เซนติเมตร สัดส่วนระหว่างพื้นที่ทำปฏิกิริยาของขั้วไฟฟ้าและปริมาตรสลัดจ์ในถังปฏิกิริยา 3.5-9.5 เมตร-1ความหนาแน่นกระแสไฟฟ้า 107-427 แอมแปร์ต่อตารางเมตร และความเข้มข้นสลัดจ์ 7,000-13,000 มิลลิกรัมต่อลิตร จากผลการศึกษาพบว่าการใช้ขั้วไฟฟ้าชนิดอลูมิเนียม-แกรไฟต์ ที่ระยะห่างระหว่างขั้วไฟฟ้า 1 เซนติเมตร สัดส่วนระหว่างพื้นที่ทำปฏิกิริยาของขั้วไฟฟ้าและปริมาตรสลัดจ์ในถังปฏิกิริยา 5.5 เมตร-1 ความหนาแน่นกระแสไฟฟ้า 320 แอมแปร์ต่อตารางเมตร และความเข้มข้นสลัดจ์ 7,000 มิลลิกรัมต่อลิตร จะส่งผลทำให้ค่าความต้านทานจำเพาะของการกรองลดลงมากที่สุดเท่ากับ 4.42 x 1013 เมตรต่อกิโลกรัม ประสิทธิภาพการลดลงของค่าความต้านทานจำเพาะของการกรองร้อยละ 84.11 ค่าความชื้นของกากตะกอนร้อยละ 75.34 และค่าใช้จ่าย 29.04 บาทต่อลูกบาศก์เมตร ส่วนการปรับสภาพสลัดจ์โดยใช้สารโพลีอิเลคโทรไลต์ชนิดประจุบวกพบว่าปริมาณสารร้อยละ 0.4 ของปริมาณของแข็งแห้ง และความเข้มข้นสลัดจ์ 7,000 มิลลิกรัมต่อลิตร จะส่งผลทำให้ค่าความต้านทานจำเพาะต่อการกรองลดลงมากที่สุดเท่ากับ 1.77 x 1014 เมตรต่อกิโลกรัม ประสิทธิภาพการลดลงของค่าความต้านทานจำเพาะของการกรองร้อยละ 36.38 ค่าความชื้นของกากตะกอนร้อยละ 79.38 และค่าใช้จ่าย 7.84 บาทต่อลูกบาศก์เมตร ดังนั้นประสิทธิภาพในการปรับสภาพสลัดจ์โดยกระบวนการรวมตะกอนด้วยไฟฟ้าจึงดีกว่าสารโพลีอิเลคโทรไลต์ชนิดประจุบวก แต่มีค่าใช้จ่ายสูง | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research was aimed to study effects of sludge conditioning from activated sludge wastewater treatment system by electrocoagulation process on specific resistance of filtration reduction. Type of electrode : aluminum-graphite, copper-graphite and graphite-graphite were used in this study. The operating parameters were electrode distance 1-4 cm, the ratio between the total electrode area and the volume of sludge in the reactor 3.5-9.5 m-1, current density 107-427 A/m2 and total solid 7,000-13,000 mg/l. The results showed that the optimum conditions were using aluminum-graphite electrodes at electrode distance of 1 cm, the ratio between the total electrode area and the volume of sludge in the reactor of 5.5 m-1, current density of 320 A/m2 and total solid of 7,000 mg/l. The specific resistance of filtration (SRF), the SRF reduction efficiency, Moisture of the sludge cake and operating cost by 4.42 x 1013 m/kg, 84.11%, 75.34% and 29.04 baht/m3, respectively. The optimum cationic polyeletrolyte conditioning achieved at the dose of 0.4 % dry solid and total solid of 7,000 mg/l. The specific resistance of filtration (SRF), the SRF reduction efficiency, Moisture of the sludge cake and operating cost by 1.77 x 1014 m/kg, 36.38%, 79.38% and 7.84 baht/m3, respectively. Therefore, the efficiency of sludge conditioning by electrocoagulation process is higher than polyeletrolyte, but costly operation. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1034 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | น้ำเสีย -- การบำบัด -- กระบวนการแบบตะกอนเร่ง | en_US |
dc.subject | การรวมตะกอนด้วยไฟฟ้า | en_US |
dc.subject | Sewage -- Purification -- Activated sludge process | en_US |
dc.subject | Electrocoagulation | en_US |
dc.title | ผลของการปรับสภาพสลัดจ์โดยกระบวนการรวมตะกอนด้วยไฟฟ้า ที่มีต่อการกรองสลัดจ์จากระบบบำบัดน้ำเสีย | en_US |
dc.title.alternative | Effect of sludge conditioning by electrocoagulation process on specific resistance of sludge filtration from activated sludge wastewater treatment system | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | orathai.c@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2012.1034 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
kritsadaporn_ru.pdf | 8.39 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.