Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42495
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐธยาน์ พงศ์สถาบดี-
dc.contributor.authorกึกก้อง พรสถิตย์พงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-06-24T02:55:41Z-
dc.date.available2015-06-24T02:55:41Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42495-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractระบบการผลิตแก๊สไฮโดรเจนเป็นแหล่งทางเลือกของพลังงานในอนาคตที่ยั่งยืน กระบวนการออกซิเดชันเชิงเร่งปฏิกิริยาด้วยแสงเป็นอีกเทคโนโลยีหนึ่งที่ใช้ในการผลิตแก๊สไฮโดรเจน วัตถุประสงค์ในงานวิจัยนี้เพื่อทำการศึกษาการเกิดแก๊สไฮโดรเจนจากกระบวนการออกซิเดชันเชิงเร่งปฏิกิริยาด้วยแสงของน้ำเสียที่มีเอทานอลตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ชนิดตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสง ค่าความเป็นกรด-เบสเริ่มต้นของสารตั้งต้น ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา กำลังแสง อัลตราไวโอโลต อัตราส่วนระหว่างเอทานอลต่อน้ำในน้ำเสียสังเคราะห์ การเติมไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ และการนำตัวเร่งปฏิกิริยากลับมาใช้ใหม่ โดยคุณลักษณะสมบัติของตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงที่เตรียมได้ ด้วยเทคนิค XRD XRF BET FT-IR และ UV-Visibleจากผลการทดลองพบว่า ภาวะที่เหมาะสมสำหรับการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันเชิงเร่งด้วยแสงในเครื่องปฏิกรณ์แก้วแบบกะโดยควบคุมอุณหภูมิให้คงที่ที่ 313 เคลวินคือ การใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาทางแสงไทเทเนียมไดออกไซด์ที่โหลดด้วยทองแดงออกไซด์ร้อยละ 10 ซึ่งเตรียมด้วยวิธีแบบเคลือบฝัง ค่าความเป็นกรด – เบสเริ่มต้นของน้ำเสียสังเคราะห์ เท่ากับ 5กำลังของแสงอัลตราไวโอเลตเท่ากับ 33 วัตต์ โดยมีอัตราส่วนระหว่างเอทานอลต่อน้ำเท่ากับ 3:7 และเติมไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ที่ร้อยละความเข้มข้นเท่ากับร้อยละ 10 โดยปริมาตรจะได้อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนสะสมที่เกิดขึ้นเท่ากับ 81.2 ไมโครโมลen_US
dc.description.abstractalternativeHydrogen generation systems are alternative source for the future of sustainable energy and photocatalytic oxidation represents one of technologies currently showing promise as a method for hydrogen production. The aim of this research was to study hydrogen generation from photocatalytic oxidation of ethanol solution. To study hydrogen production performance by photo catalytic oxidation in ethanol solution, copper (Cu) doped TiO₂ was used as catalysts. The photo catalysts were prepared by wet impregnation method. The photo catalysts were characterized by X-ray diffraction, X-ray fluorescence, BET, FT-IRand UV-vis diffuse reflectance,. The glass cylinder reactor was placed in a water bath to control the reactor temperature at 313 K. The effects of loading of Cu, pH of solution, concentration of ethanol, adding H₂O₂content on the catalytic activity were investigated. The experimental results showed that the optimum hydrogen production was obtained when 10% loading of Cu on TiO₂catalyst with initial pH of solution of 5. Initial concentration of ethanol solution is 30% and H₂O₂ was 10 %by volumeunder 33 W of UV light of irradiation. Hydrogen generated at this condition was 81.2 moleen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.184-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectออกซิเดชันen_US
dc.subjectเอทานอล -- ออกซิเดชันen_US
dc.subjectไฮโดรเจนen_US
dc.subjectคอปเปอร์ออกไซด์en_US
dc.subjectไทเทเนียมไดออกไซด์en_US
dc.subjectการเร่งปฏิกิริยาด้วยแสงen_US
dc.subjectOxidationen_US
dc.subjectEthanol -- Oxidationen_US
dc.subjectCopper oxideen_US
dc.subjectHydrogenen_US
dc.subjectTitanium dioxideen_US
dc.subjectPhotocatalysisen_US
dc.titleออกซิเดชันเชิงเร่งปฏิกิริยาด้วยแสงของสารละลายเอทานอลเพื่อผลิตไฮโดรเจนบนตัวเร่งปฏิกิริยา CuO/TiO₂en_US
dc.title.alternativePhotocatalytic oxidation of ethanol solution for hydrogen production over CuO/TiO₂ catalystsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.184-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kukkong_po.pdf3.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.